การจัดการพนักงานต่างวัฒนธรรมในยุคดิจิทัล 4.0

ผู้แต่ง

  • ประเวศน์ มหารัตน์สกุล มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การจัดการ, พนักงานต่างวัฒนธรรม, ยุคดิจิตอล 4.0

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยความสำเร็จในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ขององค์การในยุคดิจิทัล 4.0 และวิธีการจัดการพนักงานต่างวัฒนธรรมในยุคดิจิทัล 4.0 
การจัดการพนักงานต่างวัฒนธรรมในยุคดิจิทัล 4.0 ต้องอาศัยผู้บริหารและพนักงานที่มีความรู้และเข้าใจสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์การที่มีการเปลี่ยนแปลงท่ามกลางการพัฒนาเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด เข้าใจวัฒนธรรมการทำงานที่เป็นสากล เข้าใจปัจจัยความสำเร็จในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ขององค์การ และรู้ลักษณะงานในยุคดิจิทัล 4.0 เป็นอย่างไรจึงจะสังเคราะห์วิธีการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในยุคดิจิทัล 4.0 ได้อย่างมีประสิทธิผลไม่ว่าจะเป็นการวางแผนยุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรมนุษย์ที่ต้องผสานเอาวัฒนธรรมการทำงานแบบสากลเป็นแนวปฏิบัติ มีกลวิธีการสรรหาว่าจ้างที่ต้องใช้คนต่างวัฒนธรรม  การฝึกอบรมให้พนักงานที่มีที่มาต่างวัฒนธรรมสามารถร่วมงานกันได้ มีการคำนึงถึงความสามารถในการจ่ายค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ขององค์การ การทำงานเป็นกลุ่มคณะ และการควบคุมคุณภาพ

References

Burton,F. et al.,(1999).International Business Organization; Subsidiary Management, Entry Strategies and Emerging Market. New York : ST.Martin’s press,Inc.
Dockthaisong,B.(2007).Human Capital.Bangkok : Pimtawan.
Edwards,T. & Rees,C.(2011). International Human Resource Management. 2nd ed.New York : Pearson.
Gradner ,M. and G.Palmer.(1992). Employment Relations. Melbourne : Macmillan.
Heller,R.(2000).Drucker,P.Busness Masterminds : The Gurus Who Transformed the Business World. London : Dorling Kindersley.
Hofstede,G.(1980). Culture’s Consequences: International difference in Work Related Values .Bevery Hills, California : Sage.
Lawrence,P. & Lorsch,J.(1967).Organizations and Environment. Cambridge, Mass: Harvard University Press.
Pettinger,R. (2000). Mastering Organizational Behaviour. London: MACMILLAN PRESS LTD.
Tayeb, M.H.(1996).The Management of the Multicultural Workforce. Chichester: Wiley.
.(1988). Organizations and National Culture. London: Sage.
Taylor,F.W. (1911).The Principles of Scientific Management. New York: Harper Brother.
Wilhelm,W.R. (1990). Revitalizing the Human Resource Management Function in a Mature,Large corporation. Human Resource Managemen. (29),129-44.

เผยแพร่แล้ว

2019-09-30

How to Cite

มหารัตน์สกุล ป. (2019). การจัดการพนักงานต่างวัฒนธรรมในยุคดิจิทัล 4.0. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 8(3), 284–297. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/212604