THE ART OF SPEAKING FOR LEADERS: HOW TO SPEAK FOR PEOPLE TO BELIEVE
Keywords:
The Art of Speaking, Leaders, How To Speak For People To BelieveAbstract
หนังสือ “ศิลปะการพูดสำหรับผู้นำ”เล่มนี้เป็นหนังสือที่ท่านอาจารย์สมชาติ กิจยรรยง รวบรวมหลักสำคัญและวิธีการพูดในที่ชุมชนการฝึกเพื่อพัฒนางานและสร้างความสำเร็จในการบริหารโดยใช้วิธีการเขียนที่เข้าใจง่ายด้วยการอ้างอิงประสบการณ์ของผู้เขียนและยกตัวอย่างประกอบใดสนใจอย่างยิ่งสำหรับผู้นำทุกระดับในองค์การตั้งแต่ระดับหัวหน้างานผู้บัญชาการพูดระดับผู้บริหารระดับกลางและผู้บริหารระดับสูงเพราะผู้นำจะต้องมีบุคลิกภาพและนาทีแสดงออกได้อย่างน่า “เชื่อถือ” มีความสามารถในการบริหารการปฏิบัติเป็นที่ “เชื่อมือ” มีปฏิสัมพันธ์และทำงานร่วมกับผู้อื่นเป็นที่ “เชื่อใจ” และมีอิทธิพลทางใจเหลือผู้อื่นทำให้เกิดความ “เชื่อมั่น” เจอผู้ร่วมงานให้ผู้เกี่ยวข้องได้และบทบาทสำคัญของผู้นำประกอบประกอบประการหนึ่งคือความสามารถในการคิดโดยประดิษฐ์ออกมาเป็นถ้อยคำเพื่อสร้างความสนใจความเข้าใจและความพอใจและแรงจูงใจให้ผู้อื่นก็ทำได้ ซึ่งท่านจะสามารถศึกษาและนำไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับความสามารถและสถานการณ์ได้เพราะ “ถ้าพูดไม่เป็นอย่าริเป็นผู้นำ” หนังสือเล่มนี้จึงเป็นทางเลือกสำหรับผู้ที่จะบริหารงานหรือเป็นผู้จัดการหรือทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพนั่นเอง ผู้อ่านต้องลองพิสูจน์ด้วยตนเองว่าหนังสือเล่มนี้จะตอบโจทย์ได้อย่างที่ผู้วิจารณ์พูดไว้หรือไม่ เพราะคนเราส่วนใหญ่มีทัศนะที่แตกต่างกันออกไป แล้วแต่การปลูกฝัง ประสบการณ์ หรือ บริบทของสังคม การอ่านหนังสือก็เช่นเดียวกัน อ่านเรื่องเดียวกัน บางคนอาจจะบอกว่าดี บางคนอาจจะบอกว่าไม่ดีก็ได้ ใครจะไปทราบได้ สิ่งสำคัญคือ ผู้วิจารณ์ ได้นำหนังสือ ของท่านอาจารย์สมชาติ กิจยรรยง มานำเสนอ และวิเคราะห์ วิจารณ์ในบางส่วนบางตอนเพราะเห็นว่าหนังสือเล่มนี้มีประโยชน์อย่างดี ผู้อ่านจะสนับสนุนหรือเห็นแย้งจากผู้วิจารณ์ก็ได้ เพราะเป็นสิทธิส่วนบุคคลแต่ละท่าน อย่างโบราณท่านว่า “สองคนยลตามช่อง คนหนึ่งมองเห็นโคลนตม อีกคนตาแหลมคม มองเห็นดาวอยู่พราวแพรว”
References
กรกต ชาบัณฑิต และคณะ. (2559). ยุทธศาสตร์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเชิงรุก. วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 7(2), 55-67.
กมล การกุศล. (2529). การพูดเพื่อประสิทธิผล. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
คณะอนุกรรมการฝ่ายหนังสืออนุสรณ์ 100 ปี ชาตกาล พุทธทาสภิกขุ. (2549). พุทธทาสยังอยู่ ไปไม่มีตาย. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการอํานวยการจัดงาน 100 ปี พุทธทาสภิกขุ.
จินดา งามสุทธิ. (2531). การพูด. กรุงเทพ: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์.
ญาดา อารัมภีร. (2551). ทักษะการพูดสำหรับผู้นำ. สืบค้น 1 ตุลาคม 2551, จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?i
ทรงวิทย์ แก้วศรี. (2551). การศึกษาวิเคราะห์ยุทธวิธีในการประกาศศาสนาของพระพุทธเจ้า. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ธัญญาภรณ์ ภู่ทอง. (2541). ชีวประวัติบุคคลตัวอย่างพระธรรมโกศาสจารย์ พุทธทาส อินทปัญโญ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2546). ภาวะผู้นำและผู้นำเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: บริษัท เซ็นทรัล เอ็กเพรส จํากัด.
บรรยงค์ โตจินดา. (2543). การบริหารงานบุคคล (การจัดการทรัพยากรมนุษย์). กรุงเทพฯ:รวมสาส์น.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มาลี ไพรสน และพระครูพิพิธสุตาทร. (2563). การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้าในบริบทพหุวัฒนธรรมอินเดีย. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(5), 82-95.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2563). พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน. สืบค้น 20 พฤษภาคม 2563, จาก https://dictionary.sanook.com
สมชาติ กิจยรรยง. (2555). ศิลปะการพูดสำหรับผู้นำ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
สวัสดิ์ อโณทัยและคณะ. (2019). ศึกษาวิเคราะห์พุทธวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบท. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 4(1), 70-84.
Kelly, J. (2005). Milindapañha: The Questions of King Milinda. Retrieved May, 30 2020, from https://www.accesstoinsight.org/tipitaka/kn/miln/miln.intro.kell.html
Rhys, D., & Thomas. (1894). The questions of King Milinda, Part 2. Oxford: The Clarendon press.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
In order to conform the copyright law, all article authors must sign the consignment agreement to transfer the copyright to the Journal including the finally revised original articles. Besides, the article authors must declare that the articles will be printed in only the Journal of MCU Journal of Social Sciences. If there are pictures, tables or contents that were printed before, the article authors must receive permission from the authors in writing and show the evidence to the editor before the article is printed. If it does not conform to the set criteria, the editor will remove the article from the Journal without any exceptions.