นวัตกรรมการพัฒนาเศรษฐกรน้อยวิถีเขียวในกลุ่มโรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษา อำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพูน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างนวัตกรรมการพัฒนาเศรษฐกรน้อยวิถีเขียวในกลุ่มโรงเรียนขยายโอกาสการศึกษา อำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพูน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายคือผู้บริหารและครูผู้สอนสาระสังคมศึกษาจำนวน 6 ท่าน ได้แก่โรงเรียนวัดป่าตึงห้วยยาบและโรงเรียนบ้านห้วยไซ ตำบลห้วยยาบ อำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพูน โดยการสัมภาษณ์ เพื่อนำมาวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้วิชาเศรษฐศาสตร์ เพื่อคิดค้นนวัตนกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเศรษฐกรน้อยวิถีเขียว การวิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอผลการวิจัยเชิงพรรณนา
ผลการวิจัยพบว่า นวัตกรรมการพัฒนาเศรษฐกรน้อยวิถีเขียวคือแผนการจัดการเรียนรู้วิชาเศรษฐศาสตร์แบบบูรณาการเข้ากับกิจกรรมชุมนุมทักษะอาชีพเรื่อง“กล้วยรักษ์โลก”มีขั้นตอนการสร้างและพัฒนานวัตกรรม 6 ขั้น คือ 1. สำรวจปัญหาการเรียนการสอนสาระเศรษฐศาสตร์ 2. การกำหนดจุดมุ่งหมายเพื่อจัดสร้างและพัฒนานวัตกรรม 3. การศึกษาข้อมูลของปัญหาและข้อจำกัดในการสร้างและพัฒนานวัตกรรม 4. การคิดค้นและสร้างนวัตกรรม 5. การทดสอบความสอดคล้องและประสิทธิภาพ 6. การเผยแพร่และนำ นวัตกรรมไปใช้ และแบบฝึกทักษะ 5 ขั้นได้แก่ 1. ขั้นนำฝึกให้นักเรียนเชื่อมโยงกับความรู้เดิมที่นักเรียนเคยรู้มาก่อนหรือการตั้งคำถามคำถามทรัพยากรในชุมชนของนักเรียน 2. การวิเคราะห์ ฝึกการสำรวจทรัพยากรและการตัดสินใจเลือกทรัพยากรและอาชีพที่เหมาะสมกับตนเองและท้องถิ่น 3. ขั้นเรียนรู้ลงมือปฏิบัติตามแผนการจัดการเรียนรู้และฝึกฝนจากแหล่งเรียนรู้ 4. ขั้นการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างสร้างสรรค์โดยคำนึงถึง การอนุรักษ์และเป็นมิตรต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. ขั้นการฝึกประยุกต์ใช้นวัตกรรมเศรษฐกรน้อยวิถีเขียวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ ยินยอมว่าบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
Alhadid, A. Y., & Abu-Rumman, A. H. (2014). The Impact of Green Innovation on Organizational Performance, Environmental Management Behavior as a Moderate Variable:An Analytical Study on Nuqul Group in Jordan. International Journal of Business and Management, 16(2), 34-46.
Chang, N. J., & Fong, C. M. (2010). Green Product Quality, Green Corporate Image, Green Customer Satisfaction and Green Customer Loyalty. African Journal of Business Management, 2(3), 56-68.
Jithreenit, K. (2021). Video Program on Teaching Hair Cutting for Primary School Students. Mahachula Academic Journal, 8(1), 34-46.
Khaemmanee, T. (2004). Teaching Sciences. Bangkok: Dansutha Publishing Co., Ltd.
Kay, K., & Greenhill, V. (2011). “Twenty-First Century Students Need 21st Century Skills. In Wan, G. & Gut, D. M. (Eds.)”. Bringing Schools into the 21st Century. New York: Springer.
Lertwathawawanit, S. (2017). The Development of Activities for Learner’s Development by Project Based Learning to Enhance Career Skills and Career Attitudes for High School Students. Department of Curriculum and Instruction Graduate School, (Master's Thesis). Silpakorn University. Nakornpathom.
Malithong, K., (2000). Educational Technology and Innovation. (2nd ed). Bangkok: Arun Printing.
Ministry of Education. (2008). Basic Education Core Curriculum 2008. Bangkok: Agricultural Cooperative Society of Thailand Printing House.
Ministry of Education. (2011). Strategies for Driving Sufficiency Economy Philosophy to Educational Institutions (2010 - 2014). Due to the Initiative of the Office of Student Affairs Development and Special Affairs.
Office of Academic Affairs and Educational Standards. (2011). Life Skills Development in the Basic Education System. Bangkok: Ministry of Education.
Office of the National Environment Board. (2020). Green Innovation Industry Friendly, Retrieved May 10, 2021, form https://www.prachachat.net/columns/news-225865
Pathumlangkar, S. (2019). Knowledge of Competency Based Curriculum. Retrieved July 20, 2020, from http://www.atsn.ac.th/images/Upload/file/CBCApplications.pdf
Rungruangtham, S. (1983). Teaching Strategies. Bangkok: Roongtham.
Sattayatham, P. (1980). Integration for Teaching and Life. Bangkok: Mitr Khru 24.
Saengkham, W. (1999). Comparison of Learning and Democratic Personality Attitudes of Prathomsuksa 6 Students Who Received Integrated Instruction in Lardiza. (Master's Thesis). Graduate School: Burapha University. Chonburee.
Tongrayab. T., Krasae. Th., & Namsawat, W. (2015). Effects of Exercises on Probability of Mathematic Learning Activities Based for Matthayomsuksa 3 Students by Using Constructivist Theory Learning. Academic Journal Buriram Province, 7(2), 13-24.