กลยุทธ์การสืบสานละครเพลงไฉ่เตี้ยวกวางสีในโรงเรียน จากมุมมองพฤติกรรมการเรียนรู้ของชาวบ้าน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพการสืบสานละครเพลงไฉ่เตี้ยวกวางสีในโรงเรียนจากมุมมองพฤติกรรมการเรียนรู้ของชาวบ้าน 2) เพื่อเสนอกลุยุทธ์การสืบสานการสืบสานวัฒนธรรมละครเพลงไฉ่เตี้ยวในโรงเรียนของชาวบ้าน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรมข้อมูลได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และการสนทนากลุ่ม กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ อาจารย์ใหญ่, ครูผู้สอน, นักเรียน, ผู้สืบสานละครเพลงไฉ่เตี้ยว การวิเคราะห์ข้อมูลใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis Technique)
ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการสืบสานละครเพลงไฉ่เตี้ยวกวางสีในโรงเรียนจากมุมมองพฤติกรรมการเรียนรู้ของชาวบ้านเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่วัฒนธรรมของประเทศจีนโดยเฉพาะในกวางสีและมีคุณค่า ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่สำคัญมีวิธีการสืบสาน 4 วิธี ได้แก่ 1) วิธีการสืบสานในตระกูล 2) วิธีการสืบสานกิจกรรมพื้นบ้าน 3) วิธีการสืบสานของครูและลูกศิษย์ 4) วิธีการสืบสานไฉ่เตี้ยวกวางสีของการศึกษาในโรงเรียน 2) กลุยุทธ์การสืบสานการสืบสานวัฒนธรรมละครเพลงไฉ่เตี้ยวของชุมชน และโรงเรียน มี 2 แนวทาง ได้แก่ 1) แนวทางวัฒนธรรมจากบริบทของวัฒนธรรมหลังสมัยใหม่ผสมผสานกับวัฒนธรรมดั้งเดิม 2) แนวทางการปฏิบัติ โดยการจัดสร้างหลักสูตรหลังยุคนวนิยมให้นักเรียนสร้างความเข้าใจในโลกบนพื้นฐานทั้งในมิติวัฒนธรรมสมัยใหม่และวัฒนธรรมดั้งเดิม
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ ยินยอมว่าบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
Chen Hong. (2021). Yizhou Cai Diao Opera Inheritance and Innovation. Journal of Research on Stage art, 2, 93-94.
Chen Liuxi. (2019). Takes the Inheritance and Protection of Intangible Cultural Heritage Takes Guangxi Cai Diao Opera as an Example. Journal of House of Theatre, 15, 19-19.
Gan Qun. (2020). The Happy Drama Full of Earthy Fragrance: A Field Investigation and Research on "Cai Diao" in Northern Guangxi Opera. Journal of Northern Music, 01, 96-97.
Li Yidan. (2016). Research on the Inheritance of Intangible Cultural Heritage "Cai DiaoGuilin" in School. Journal of Survey of Education, 05, 19-20.
Liu Susu. (2020). An Analysis of the Field of Local Opera Inheritance from the Perspective of Intangible Cultural Heritage Protection——Taking the Protection and Inheritance of Yongfu Color Diao as an Example. Journal of Drama House, 02, 46-46.
Mo Tianjuan. (2018). Feasibility Analysis of Cai Diao into the Music Class in Lingui District Primary School of Guilin. Journal of Guangxi Normal University, 2, 87-91.
Qin, X., & Jiang, L. (2016). A Study on the Protection and Industrialization Development Path of Guilin CaiDiao. Journal of Market Forum, 7, 41-45.
Shao, S., & Li, J. (2021). The Poetic Space Performance and Modern Inheritance of Caidiao in Central Guangxi. Journal of Intangible Heritage Research, 3, 127-134.
Tang Kexing. (2020). The Interpretation and Display of Traditional Opera as Intangible Cultural Heritage--Taking Guangxi Caidiao Opera as an Example. Journal of Guangxi University for Nationalities: Philosophy and Social Sciences Edition, 42(4), 70-77.
Tang Wensheng. (2018). Research on the Current Situation and Strategy of Yizhou University in Guangxi. Journal of Theatre House, 9, 24-25.
Wang Changqiao. (2019). Research on the Inheritance and Innovation of Guangxi Caidiao Opera in the New Era. Journal of Art Education,7, 103-104.
Zhang, J., & An Z. (2014). A Strategic Study on the Inheritance and Protection of Guangxi Caidiao. Journal of Guilin Institute of Aerospace Engineering, 19(2), 127-130.