ยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วิทยาลัยการเงินภาคใต้ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) ศึกษาสภาพและปัญหายุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วิทยาลัยการเงินภาคใต้ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2) หาแนวทางพัฒนายุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วิทยาลัยการเงินภาคใต้ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและ 3) ประเมินยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วิทยาลัยการเงินภาคใต้ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กลุ่มเป้าหมาย ระยะที่ 1 คือ บุคลากรวิทยาลัยการเงินภาคใต้ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวทั้งหมด จำนวน 74 คน ระยะที่ 2 คือ ผู้เชี่ยวชาญ 9 คน ได้แก่ ผู้บริหาร 3 คน นักวิชาการ 3 คน ตัวแทนบุคลากร 3 คน ระยะที่ 3 คือ ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมินยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วิทยาลัยการเงินภาคใต้แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า สภาพและปัญหาการดำเนินงานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ วิทยาลัยการเงินภาคใต้ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือด้านการพัฒนาอาชีพ ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการพัฒนาองค์กร แนวทางในการพัฒนายุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วิทยาลัยการเงินภาคใต้แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมด้านการอบรม ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพชีวิต ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาตนเอง ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาอาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาองค์กร และผลการประเมินยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วิทยาลัยการเงินภาคใต้ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวจากผู้เชี่ยวชาญมีความเหมาะสมและเป็นไปได้ในระดับมากที่สุดทั้ง 5 ยุทธศาสตร์
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ ยินยอมว่าบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
Asawapoom, S. (2008 ). The Modern Education Management;Concepts,Theories, and Practice. (4th ed.). Ubon Ratchathani: Ubonkit Offset Printing.
Chaisuda, W. (2012). Strategies for human resource development of Maeyangho Sub-District Administration Organization, Rong Kwang District, Phrae Province. (Master’s Thesis). Sukhothai Thammathirat open University. Bangkok.
Chaimanee, P., & Gumjudpai, S. (2013). Strategy for Developing Ability Conducive to Job Performance of the Personnel, Section of Waterway Management, Department of Public Works and Transport, Savannakhet Province, Lao People’s Democratic Republic. Journal of Nakhon Phanom University, 3(2), 48-55.
Kannika, C. (2011 ). Strategies for personnel development of Chiangmai Provincial Administrative Organization. Nonthaburi. The independent study of Political Science. The Graduate School of Management. (Master’s Thesis). Sukhothai Thammathirat Open University. Bangkok.
Malawan, S. (2011). The Human Resource Development Strategy of Pangmu Sub-district Administration Organization. Nonthaburi. The Independent Study of Province The independent study of Political Science. The Graduate School of Management. (Master’s Thesis). Sukhothai Thammathirat Open University. Bangkok.
Felix, A. N. (1959). Public Personnal Administration. New York: Henry Holt and Company.
Sutthilertarun, S. (2000). Human Behavior and self-development. Bangkok: Aksornpipat.
Thienphut, D. et al. (2000). Future of Human Resource Development. (3rd ed.). Bangkok. Chulalongkorn University.
Thiyao, S. (1991). Personnel Administration. (8th ed.). Bangkok: Thammasat Business School.
Wongsarsri, P. (2002). Human Resources Management. Bangkok: Pimsupha.