กลยุทธ์การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดบุรีรัมย์

Main Article Content

จิชญ์​ชญา​ภัษณ์​ ทิพย์​กรรณ​
นฤมล ศักดิ์ปกรณ์กานต์
เผ่าพงษ์พัฒน์ บุญกะนันท์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)  สร้างกลยุทธ์การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขนาดเล็ก 2) ทดลองใช้กลยุทธ์การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขนาดเล็ก 3) เพื่อประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ความเป็นประโยชน์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดบุรีรัมย์ ดำเนินการวิจัยโดย การสร้างกลยุทธ์การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขนาดเล็กเครื่องมือที่ใช้ คือ ประเด็นความต้องการจำเป็นในการพัฒนา จำนวน 22 ประเด็น และประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ของกลยุทธ์ จากผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา


ลการวิจัย พบว่า 1) กลยุทธ์การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขนาดเล็กมีทั้งหมด  14 กลยุทธ์ 46 มาตรการ 2) ผลการนำกลยุทธ์ไปทดลองใช้กับสถานศึกษาขนาดเล็ก จำนวน 2 แห่ง พบว่า กลยุทธ์ที่ 4, 5 และกลยุทธ์ที่ 10 เป็นจุดแข็งเป็นกลยุทธ์เชิงรุก กลยุทธ์ที่ 1 และกลยุทธ์ที่ 2 เป็นกลยุทธ์เชิงตั้งรับ และกลยุทธ์ที่ 3,6,7,8,9,11,12,13 และกลยุทธ์ที่ 14เป็นกลยุทธ์เชิงแก้ไขเมื่อได้นำมาทดลองใช้ และปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานให้ทำงานเป็นการทำงานเป็นทีม การทำงานแบบมีส่วนร่วม ให้ความรู้ ความเข้าใจ เป็นการสร้างความเข้มแข็งทางด้านวิชาการให้ชุมชนเห็นความสำคัญถึงการมีส่วนร่วมและสนองความต้องการของผู้ปกครอง และชุมชน 3) การประเมินกลยุทธ์ พบว่า กลยุทธ์การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขนาดเล็ก ความเหมาะสม ในระดับมาก ( = 4.50, S.D. = 0.52) และความเป็นไปได้ในระดับมากที่สุด ( = 4.63, S.D. = 0.48), และมีความเป็นประโยชน์ ในระดับ มาก (  = 4.25, S.D. = 0.55)

Article Details

How to Cite
ทิพย์​กรรณ​ จ., ศักดิ์ปกรณ์กานต์ น., & บุญกะนันท์ เ. (2022). กลยุทธ์การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดบุรีรัมย์ . วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 10(4), 1598–1609. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-peace/article/view/250306
บท
บทความวิจัย

References

Shejaiin, A. (2009). Proposed academic administration strategies based on an educational quality assurance system in small multigrade elementary schools. Chulalongkorn University.
Boonkua, S. (2011). An analysis of academic administration leadership of administrators in model schools using the basic education core curriculum. Chulalongkorn University.
Bulbon, P. (2011). Development of an academic administration model of basic education institutions to prepare students for global citizenship.
Chulalongkorn University.
Chaowachai, S. & Chatruprachewin, C. (2018). Strategies for administering a provincial scout club 238 Humanities and Social Sciences. Journal of Graduate School. Pibulsongkram Rajabhat University. 12(2), 581-595. [in Thai]
Chaisooksung, S. (2014). Academic Administration Strategies to Promote 21st Century Skills of Students in Alternative Schools.The degree of Philosophy Program , Educational Administration. Chulalongkorn University. [in Thai]
Chan-urai, N. (2011). The Development of the Model for Utilization of External Evaluation Results for Quality Improvement of Small-Size Schools in Northeastern Thailand : An Application of Organization Development Research. commission (Doctoral dissertation). Mahasarakham University.[in Thai]
Jabbung, C. (2011). Developing model for efficiency in education following a strategyto develop the small school by participatory action researchingoffice of the basic education commission (Doctoral dissertation). Chonburi:Burapha University. [in Thai]
Leithwood, K., & Jantzi, D. (2008). Linking leadership to student learning: The contributions of leader efficacy. Educational Administration Quarterly, 44(4), 496-528.
Miller, V. (1965). Administration of American School. NewYork : Mc Millan pubishing. [in Thai]
Office of the Basic Education Commission. (2017). Guide to the operation of a good school near the home (magnet). Bangkok: The Agricultural Cooperative Federation of Thailand.
Phraelai, M. (2011). An Analysis Of Factors Effecting the Educational Quality Assurance Management Of Small – Sized School. Commission. CHulalongkorn University (Doctoral dissertation) [in Thai]
Portin, B, Schneider, P, DeArmond, M. & Gundlach, L. (2003). Making sense of leading schools: A study of the school principalship.Seattle, WA: Center on Reinventing Public Education.
Ruebling, C . E.,Stow, S .B.,Kayona, F. A., & Clarke, N. A. (2004). Instructional leadership:An essential ingredient for improving student learning. The Educational Forum, 68, 243 - 252.
Thanasomboon, S. (2009). Education Quality Development of Small School Under The Office of Khon Kaen Educational Service Area. An Independent Study Report. KhonKaen University. [in Thai]
Thipkun, J. Sakpakornkan, N and Bunkanan. P. (2021). Academic Administration Strategic of Small- Size Schools Under Education Service Area office. proceedings (NIRC IV2021). Buriram Rajabhat University. [in Thai]