การเสริมสร้างและปลูกฝังจิตสำนึกค่านิยมวัฒนธรรมทางการเมืองภาคพลเมือง

Main Article Content

สุมาลี บุญเรือง
เติมศักดิ์ ทองอินทร์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับปัจจัยและหลักพุทธธรรมที่เสริมสร้างและปลูกฝังจิตสำนึกค่านิยมวัฒนธรรมทางการเมืองภาคพลเมืองในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาจิตสำนึกค่านิยมวัฒนธรรมทางการเมืองภาคพลเมือง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อจิตสำนึกค่านิยมวัฒนธรรมทางการเมืองภาคพลเมือง และ 4) เพื่อนำเสนอรูปแบบการเสริมสร้างและปลูกฝังจิตสำนึกค่านิยมวัฒนธรรมทางการเมืองภาคพลเมือง อาศัยการใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 152 รูปหรือคน ใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ด้วยวิธีแบบ Stepwise และสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญที่จำนวน 18 รูปหรือคน โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณนา


            ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับปัจจัยและหลักพุทธธรรมที่เสริมสร้างและปลูกฝังจิตสำนึกค่านิยมวัฒนธรรมทางการเมืองภาคพลเมืองในประเทศไทย ประชาชนมีความคิดเห็นต่อการเสริมสร้างและปลูกฝังจิตสำนึกค่านิยมวัฒนธรรมทางการเมืองภาคพลเมืองในประเทศไทย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนประชาชนมีความคิดเห็นต่อหลักพุทธธรรมเสริมสร้างและปลูกฝังจิตสำนึกค่านิยมวัฒนธรรมทางการเมืองภาคพลเมือง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) จิตสำนึกค่านิยมวัฒนธรรมทางการเมืองภาคพลเมือง ประชาชน
มีความคิดเห็นต่อจิตสำนึกค่านิยมวัฒนธรรมทางการเมืองภาคพลเมือง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อจิตสำนึกค่านิยมวัฒนธรรมทางการเมืองภาคพลเมือง พบว่า พบว่าปัจจัยด้านการเคารพความแตกต่าง ปัจจัยด้านการรับผิดชอบต่อสังคมและส่วนรวม ปัจจัยด้านการเคารพสิทธิผู้อื่น ส่งผลต่อจิตสำนึกค่านิยมวัฒนธรรมทางการเมืองภาคพลเมือง ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และพยากรณ์ปัจจัยที่ส่งผลต่อจิตสำนึกค่านิยมวัฒนธรรมทางการเมืองภาคพลเมือง Adjusted R2 = 0.32 4) รูปแบบการเสริมสร้างและปลูกฝังจิตสำนึกค่านิยมวัฒนธรรมทางการเมืองภาคพลเมือง มีองค์ประกอบสำคัญคือ 1) ด้านความรู้
ด้านทักษะ 2) ด้านเจตคติและค่านิยม และ 3) ด้านพฤติกรรม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Aiempriwan, W. (2014). Political culture and political development in Thailand. Lecture document of Sukhothai Thammathirat University. (Problems of Thai political development). (7th ed.). Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat University Press.

Almond, A. G., & Verba, S. (1972). The Civic Culture. Princeton: Princeton University Press.

Boonsuaykhwan, R. (2014). Citizen Politics: Literature Reviews for Making Citizen Politics Indicators. Journal of Humanities and Social Sciences, 6(2), 121-140.

Chaisaard, W. (2020). National Cheat Museum Reverse the corrupt city vigorously. Retrieved March 10, 2020, from https://www.Posttoday.com/politic/report/386400.

Klaykaew, K. ( 2014). Family and Educational Institution Situations and Psychological Characteristic Related to Ethical Behaviors of Undergraduate Students. Journal of Behavioral Science for Development, 6(1), 159-175.

Kongjareon, M. (2020). Development of a Community Empowerment Model for the Promotion of Democratic and Civic Conscience. Journal of Education, 21(1), 110-127.

Koonnala, P. (2020). The Role of Citizenship under Democracy of Senior High School Students in Lamphun Province. Journal of SaengKhomKham Buddhist Studies, 5(1), 85-99.

Kraisomsart, S., & Klaimongkol, Y. (2015). Development of Citizenship Characteristics Cespecting to the Differences of Sixth Grade Students by Using Project-Based Learning. OJED, 10(2), 120-131.

Laotamatas, A. (2020). Build a Good Political Consciousness. Onet exam preparation - Legislation supporting values. Retrieved April14, 2020. from https://www.posttoday.com/politic/report/547654?fbclid=IwAR2y5p5cf2_tsCvw841kMhmcKHpIF4P4emq-1ogTTG8jkNs_J5O94OLlrbc.

Makaramani, R. (2013). Citizenship Behaviors of Youth in Suan Sunandha Rajabhat University. Journal Sunan Sunandha Rajabhat University, 5, 74-84.

Phra Brahmagunabhorn (P.A. Payutto). (2009). Dictionary of Buddhism. (8th ed).Bangkok: MCU.

______. (2011). Political Science and Ethics of Buddhist Politicians. Bangkok: Buddhadhamma Foundation.

Phra Khru Sangkharak Kiattisak Kittipanyo. (2015). Research Methodology in Social Sciences. Chiang Mai: Pracha Thurakit Co,Ltd.

Pipitkun, K. (2017). Political Culture of Democracy in Roi-et Province. Journal of MCU Social Science Review, 6(2), 647-658.

Pye, L. W. (1968). Political Culture International Encyclopedia of the Social Sciences. New York: Macmillan.

Taro, Y. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3rd ed). New York: Harper and Row. The Secretariat of the House of Representatives (2016). Building Citizenship in Democracy. Bangkok: Publishing: The Secretariat of the House of Representative.

Thepchamnong, A. (2014). Electoral Law: Using the Right to Vote without Intention to Vote. Journal of the Prosecutor, 27(272), 34-46.