ต้นน้ำเจ้าพระยากับการพัฒนาสู่เศรษฐกิจฐานรากทางการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

Main Article Content

อัครเดช พรหมกัลป์
พระครูนิวิฐศีลขันธ์ ณรงค์
รัตติยา เหนืออำนาจ
จรูญศักดิ์ สุนทรเดชา

บทคัดย่อ

บทความวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากลยุทธ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่ต้นน้ำเจ้าพระยา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย การสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 25 รูปหรือคน การวิเคราะห์ SWOT Analysis และ TOWS และการสนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 8 รูปหรือคน แล้วใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่ต้นน้ำเจ้าพระยา ดังนี้ 1) กลยุทธ์เชิงรุก จะต้องมีการพัฒนามาตรฐาน จัดการเชิงเครือข่าย ใช้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่การพัฒนามูลค่าเพิ่ม เติมเต็มความร่วมมือ และใช้สื่อออนไลน์ 2) กลยุทธ์เชิงรับ จะต้องมีการพัฒนาทักษะ ตระเตรียมระบบสารสนเทศ แก้สาเหตุคือทัศนคติ ริเริ่มการเป็นเจ้าบ้านที่ดี และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 3) กลยุทธ์เชิงป้องกัน จะต้องมีการ พัฒนาเครือข่าย ใช้การระดมปัญญา จัดหาผู้ร่วมทุน และหนุนจัดกิจกรรมต่อเนื่อง และ 4) กลยุทธ์การทบทวนเพื่อพัฒนา ซึ่งจะต้องรีบแก้ไขปัญหา เร่งพัฒนาผู้ประกอบการ และประสานความร่วมมือชุมชน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Arayalak, U. (2007). Foundation economic development. Bangkok: Community Enterprise Promotion Agency. Community Development Department.

Arunrektavin, J. (2007). Community roles in economic development, foundation for promotion and development. Phetchabun: Phetchabun Provincial Community Development Office.

Buakwan, N. (2013). A model of floating market management for cultural tourism: a case study of Klonghae floating market, Hatyai district, Songkhla province. (Doctoral Dissertation). Graduate School: Prince of Songkla University. Songkla.

Chemsripong, S. (1985). Chinese communities and trade growth in Nakhon Sawan Province. Bangkok: Nakhon Sawan Teacher College.

Ngamprapasom, P. (2016). A study of Factors Effecting Tourist Place Management bu the Community, A case study of the Tourist Place Management of Ban Moh Luang, Mae Moh District, Lampang. Srinakharinwirot Research and Development (Journal of Humanities and Social Sciences). 18(16), 78-87.

Ocharoen, S. (1985). Middle State: Seminar on History and Culture of Nakhon Sawan Province. Bangkok: Nakhon Sawan Teacher College.

Pillavas, T. (2013). The Tourism Industry Strategies for Community Economy Development in the Andaman Triangle. The Golden Teak: Humanity and Social Science. 8(1), 85-98.

Somsan, A. (2015). Development of Sustainable Tourism Following the Philosophy of the Suffiiency Economy in a Special Administrative (Pattaya). Journal of Nakhonratchasima College. 9(2), 28-38.

Wanwiset, S. and Agmapisarn C. (2017). Key Success Factors of the Process for People Participation in DASTA Community-Based Tourism Model: A Case study of Tambon Namchieo, Trat Province. Thammasat Journal. 36(1), 66-95.

Wattanasiritham, P. (1999). Master Plan for National Rehabilitation. Bangkok: Sak Sophon Printing.