การใช้ประโยชน์เพจเฟซบุ๊กเพื่อสันติของวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย

Main Article Content

มนตรี วิวาห์สุข
เทพพร มังธานี

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์เพจเฟซบุ๊กเพื่อสันติของวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย วิธีวิจัยเป็นแบบผสมผสานระหว่างปริมาณและคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณจำนวน 255 วัด คัดเลือกจากประชากรจำนวน 643 วัด ตามสูตรของทาโร ยามาเน่  กลุ่มเป้าหมายเชิงคุณภาพจำนวน 8 วัดที่เป็นตัวแทนของแต่ละจังหวัดในภาคตะวันออก และผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน เก็บข้อมูลจากเพจเฟซบุ๊กและการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา


          ผลการวิจัย


  1. การวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ผู้ติดตามเพจเฟซบุ๊กมีจำนวน 626,368 คน เฉลี่ยวัดละ 2,456 คน วัดที่มีผู้ติดตามมากที่สุด คือ วัดสมานรัตนาราม จำนวน 83,748 คน คิดเป็นร้อยละ 13.37 เมื่อพิจารณารายรูปภาพ พบว่า วัดที่รูปภาพถูกถูกใจเฉลี่ยมากที่สุด คือ วัดห้วงพัฒนา อยู่ที่ 83.40 คน/ภาพ

  2. การวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า การใช้ประโยชน์เพจเฟซบุ๊กเป็นไปเพื่อสันติเพราะไม่ละเมิดกฎหมาย พระธรรมวินัย และจารีต มีเป้าหมายเพื่อสังคมและการเผยแผ่ธรรม เนื้อหาส่วนมากเกี่ยวกับกิจกรรมของวัดเพื่อให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเชิญชวน สาเหตุที่ใช้เพจเพราะกระจายข่าวได้อย่างกว้างขวาง ประหยัด สะดวก รวดเร็ว และเป็นการสื่อสารแบบสองทาง

          อย่างไรก็ตาม เพจเป็นดาบสองคมขึ้นอยู่กับเป้าหมายของผู้ใช้ และไม่ใช่สิ่งจำเป็นที่ทุกวัดต้องมี

Article Details

How to Cite
วิวาห์สุข ม., & มังธานี เ. (2020). การใช้ประโยชน์เพจเฟซบุ๊กเพื่อสันติของวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 8(5), 1973–1986. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-peace/article/view/241470
บท
บทความวิจัย

References

Bannaruji, B. (2019). The Expert on Buddhism. Interview, November, 15.

Buamai, T.S. (2006). Facebook utilization of Thai Buddhist monks. Journal of Liberal Arts, Prince of Songkla University, Hat Yai Campus, 8(2), 188-218.

EEC. (2019). Developing Eastern Economic Corridor. Retrieved July 3, 2020, from

https://www.eeco.or.th/sites/default/files/%E0%B8%A1.44%202-2560.pdf.

Leerahavanit, R. (2013). The Propagation of the Buddhist Doctrinal Principles through the Electronic Media: A Case study of Ven. (Master’s Thesis). Graduate School: Mahachulalongkornrajavidyalaya University. Ayutthaya.

Let’s Read Tipitaka Project. (2018). Websites of Buddhism. Retrieved December 18, 2018,

from https://www.3pidok.com.

Luangla, A. (2016). Buddhist Monks and the Use of Facebook Website on the Internet. (Master’s Thesis). Faculty of Journalism and Mass Communication, Thammasat University. Bangkok.

Matichon on Line. (2017). Warning !! Administrators Informed ‘Monk-Novice’ not to Express the Malgender-Play Facebook-Like-Share-Comment on Institute, Punished the Offenders. Retrieved December 18, 2018, from https://www.matichon.co.th/education/religious-cultural/news_681419.

Ministry of Information and Communication Technology. (2016). Development Plan of Digital for Economy and Society. Bangkok: Ministry of Information and Communication Technology.

National Office of Buddhism. (2014). Handbook of Ecclesiastical Administrator. Bangkok: National Office of Buddhism.

National Office of Buddhism. (2017). Primary Information of Buddhism, Year 2017. Bangkok: National Office of Buddhism.

National Office of Buddhism. (2018). Registration of Buddhist Monastery, September 2018. Retrieved November 28, 2018, from http://www3.onab.go.th/2018/09/13/watrecord092561/.

Phra Brahmagunaporn (P.A. Payutto). (2012). Buddha-Dharma (Extended Edition). (39th ed). Bangkok: Mahachulalongkornrajavidyalaya University.

Phra Brahmapundit (Prayoon Dhammacitto). (2016). Reforming Buddhism Affair. In Mahachulalongkornrajavidayalaya, Essence of Buddhist Bachelors’ Writings, (nd), 1-20.

Phramaha Thanit Sirwattano. (2005). The Model and Process of Buddha-Dhamma Communication through Social Media of Buddhist Monks in Thailand. Rajabhat Chaing Mai Research Jounal, 16(2), 75-86.

Pitaksantayothin, J. (2019). The Expert on Information Technology Law. Interview, November 8.

Sereetrakul, W., Charoensri, P., & Thongteeraparp, A. (2014). The Effects of Facebook Usage on Academic Competency of Students in Bangkok. Full Report.

Suksawatchon, J. (2020). The Expert on Information Technology. Interview, March, 2.

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. London: John Weather Hill.