การเสริมสร้างสุขภาวะในวิถีชีวิตของผู้สูงวัยด้วยหลักอิทธิบาท 4

Main Article Content

จินดามาศ ทินกร
พระราชปริยัติกวี
พระปราโมทย์ วาทโกวิโท

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัญหาด้านสุขภาวะในวิถีชีวิตของสูงวัย 2) พัฒนาการด้านสุขภาวะในวิถีชีวิตของผู้สูงวัยด้วยหลักอิทธิบาท 4 3) นำเสนอรูปแบบการพัฒนาวิถีชีวิตผู้สูงวัยด้วยหลักอิทธิบาท 4 โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มนักวิชาการทางศาสนาและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 16 ท่าน และการสนทนากลุ่มโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 6 ท่าน และร่วมทำกิจกรรมกับผู้สูงวัยในชุมชนตำบลบึงคำพร้อย อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี จำนวน 10 ครั้ง ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้สูงวัยมีปัญหาด้านสุขภาพร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม และด้านเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลให้ผู้สูงวัยเป็นทุกข์ 2) การพัฒนาด้านสุขภาวะของผู้สูงวัยด้วยอิทธิบาท 4 เป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงวัยมีความพอใจ มีความขยันหมั่นเพียร มีความมุ่งมั่น และมีการใคร่ครวญ ไตร่ตรองด้วยเหตุและผล ในการดำเนินชีวิตประจำวัน รวมถึงการฝึกอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้แก่ผู้สูงวัยและครอบครัว ส่งผลให้ผู้สูงวัยมีความสุข 3) รูปแบบการพัฒนาวิถีชีวิตผู้สูงวัยด้วยหลักอิทธิบาท 4 ประกอบด้วยการพัฒนา 4 ด้าน คือ 1) การพัฒนากาย ด้วยการออกกำลังกายอย่างเหมาะสม และต่อเนื่อง 2) พัฒนาจิตใจ ด้วยการร้องเพลงและกิจกรรมนาฏศิลป์ 3) พัฒนาสังคม ด้วยกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชน์ต่อชุมชน 4) พัฒนาปัญญา ด้วยการสวดมนต์ เจริญวิปัสสนากรรมฐาน ทำให้จิตใจสงบสุข ทั้งนี้ การนำหลักอิทธิบาท 4 มาใช้ในการดำเนินชีวิตของผู้สูงวัย นับว่าเป็นการพัฒนาตนเอง และดูแลตนเองอย่างเหมาะสม ทำให้เกิดผลดี คือ ร่างกายแข็งแรง จิตใจเป็นสุข สังคมสุขสันต์ ปัญญาเป็นเลิศ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Bureau of Elderly Health. (2015). Elderly Health Record Book. Bangkok: Keawjawjom Printing and Publishing Suan Sunandha Rajabhat University.

Charoennon, R. et al. (2017). “The Model of an Application of the Dharma Principles in term of Integration to Promote Quality of Life of Aging in the Central Northeast Region”. Research and Development Journal, Loei Rajabhat University, 12(41), 103-112.

Chutikarnkoson, T. (2018). 10 Easy Ways to Take Care of Your Elderly. Retrieved March 18, 2020, from https://www.samitivejhospitals.com/th/10วิธีการดูแลผู้สูงวัย/.

Suwanrada, W. (2020). Older person society: Research Problem Challenge country.

Retrieved July 11, 2020, from https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/888873.

Doungraung, P., & Hasoontree, N. (2020). Development of the Quality of Life of the Elderly

Personsin Nonthaburi Municipality, Nonthaburi Province. Journal of Humanities and

Social Sciences, Rajapruk University, 5(1), 122-134.

Foundation of Thai Gerontology Research and Development Institute. (2014). The Situation of Thai Elderly in 2014. Bangkok: Amarin Printing & Publishing.

National Committee for the Elderly in Ministry of Social Development and Human Security. (2010). The Second National Plan on the Elderly 2002 – 2021, 1st Revision 2009. Bangkok: Thepphenvanish.

Netwong, T., & Thirawan, R. (2019). “The Effect of the Promotion Health Program to Enhance Mind Healthy Life for Elderly Following the Main Buddhist”. Journal of Ratchasuda, 51(1), 50-62.

Office of the Royal Society. (2009). Dictionary of Royal Society, B.E. 1999. Bangkok: Nanmeebooks Publication.

Padvee Academy. (2014). Guideline on using Buddhist Principle for the Elderly. Retrieved March 18, 2020, from http://oknation/tv/blog/kao/2007/04/04/entry-1.

Phra Dhammakosajarn (Prayoon Dhammacitto). (2008). Buddhist Based Management. Bangkok: Mahachulalongkornrajavidhayala.

Phra Dhammapitaka (P. A. Payutto). (1995). Buddha-Dharma (Extended Edition). (6th ed.) Bangkok: MCU Press.

Phrakru Thavarasittikran. (2019). “An Application of the Iddhibada IV in the Transformative Process of Kloy of Sai-Yoi Community Denchai District, Phrae Province”. Journal of Graduate Studies Review Mahachulalongkornrajavidhayala University, Phrea Campus, 4(1), 79 – 90.

Phrakru Winaithornkoon Chanthaseelo (Baochanteuk). (2013). “Studying Principles of Iddhipada in Theravada Buddhism in Developing Thai Current Society: Case Study of Huay Chorakhe Village, Hindat Subdistrict, Nakhon Ratchasima Province”. (Master’s Thesis). Graduate School, Nakhon Ratchasima Campus: Mahachulalongkornrajavidhayala University. Ayutthya.

Sangsri, S. (1997). Non-Formal Education for Elderly using Distance Education. Bangkok: 9119 Technic Printing.

Sooprot, B. et al. (2020). Elderly schools: health management and welfare for the

elderly in the central region. Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology, 5(1), 122-140.

Theerabut, A. et al. (2009). Elderly Health Care Handbook. Khonkaen: Klangna Nawittaya Pub Co., Ltd.

UNESCO. (1972). Learning to Be: The World of Education Today and Tomorrow. Paris: UNESCO Press.