ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สู่ความเป็นเลิศระดับสากล
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อพัฒนาโมเดลสมการโครงสร้างปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการ บริหารงานวิชาการของสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศระดับสากล 2. เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลสมการโครงสร้างปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผล ต่อประสิทธิผลในการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศระดับสากล 3. เพื่อศึกษาประสิทธิผลในการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศระดับสากล กลุ่มประชากรคือ โรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน เขตภาคกลาง จํานวน 14 สพม. ใน 22 จังหวัด ซึ่งมีจํานวน 5,952 โรงเรียน โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหาร สถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา และบุคลากรฝ่ายวิชาการของโรงเรียนมัธยมศึกษาได้จํานวนกลุ่มตัวอย่างจํานวน 375 โรงเรียนผลการวิเคราะห์สมการโครงสร้างแบบจำลองปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศระดับสากลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 โดย Chi – Square = 91.580,Sig. = 0.177 CMIN/df. = 1.145, CFI = 1.000, GFI = 0.990, AGFI = 0.961, RMSEA = 0.014, NFI = 0.997, IFI = 1.000, RMR = 0.006 ผลการวิเคราะห์จากการปรับโมเดลพบว่า ดัชนี จํานวน 7 ตัว พบว่า มีความสอดคล้องและค่าสถิติเหล่านี้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด จากผลการทดสอบสมมติฐานพบว่านวัตกรรมการเรียนรู้งานวิชาการของโรงเรียนมัธยมศึกษามีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา คุณลักษณะงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมศึกษามีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา นวัตกรรมการเรียนรู้งานวิชาการของโรงเรียนมัธยมศึกษามีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา คุณลักษณะงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมศึกษามีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษานวัตกรรมการเรียนรู้งานวิชาการของโรงเรียนมัธยมศึกษามีอิทธิพล ต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศระดับสากลคุณลักษณะงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมศึกษามีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของของสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศระดับสากล พฤติกรรมการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษามีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของของสถานศึกษาสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษามีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของของสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศระดับสากล ในด้านตัวแปรส่งผ่านพบว่านวัตกรรมการเรียนรู้งานวิชาการ มีอิทธิพลเชิงบวกต่อประสิทธิผลการบริหารจัดการงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมศึกษาสู่ความเป็นเลิศระดับสากล โดยผ่านจากสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา นวัตกรรมการเรียนรู้งานวิชาการ มีอิทธิพลเชิงบวกต่อประสิทธิผลการบริหารจัดการงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมศึกษาสู่ความเป็นเลิศระดับสากล โดยผ่านจากพฤติกรรมการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา คุณลักษณะงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมศึกษามีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของของสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศระดับสากลโดยผ่านจากสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา คุณลักษณะงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมศึกษามีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของของสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศระดับสากลโดยผ่านจากพฤติกรรมการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา
Article Details
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ ยินยอมว่าบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
Bunlert, W. (2000). Problems of academic administration at the lower secondary education level in Elementary schools Under the Udon Thani Provincial Primary Education Office (Master's Thesis). Khon Kaen University. Khon Kaen.
Chareon, T. (2010). Professionalism in Educational Management and Administration during the Education Reform era. (Revised version) for the second round of reform and third round External evaluation, Bangkok.
Diamantopoulos, A., & Siguaw, J.A. (2000). Introduction to LISREL: A guide for the uninitiated. London: SAGE Publications.
Garavan, T. N. (2007). A strategic perspective on human resource development. Advances in Developing Human Resources, 9(1), 11–30.
Hair, J. F., Anderson, R. E., Tatham, R. L., & Black, W. C. (2010). Multivariate Data Analysis. NJ: Pearson Prentice Hall.
Hooper, D., Coughlan, J., & Mullen, M.R. (2008). Structural equation modeling: Guidelines for determining model fit. Journal of Business Research Methods, 6, 53–60.
Jarang, M. (2017). Academic Administration of School Administrators as Perceived Teachers at the Taling Chan Network Center Under the area office Primary education, Yala, Region 2 (Master’s Thesis). Graduate School, Yala Rajabhat University. Yala.
Jorgensen, F., Boer, H., & Laugen, B. T. (2006). CI implementation: An empirical test of the CI Maturity model. Creativity and Innovation Management, 15, 328–337.
Ketteridge, S., & Marshall, S. (2009). A Handbook for Learning and Teaching in Higher Education: Enhancing Academic Practice. (3rd ed.). London: Rout ledge.
Kittisak, U. (2018). Innovative Technology Affects to Success of Ecommerce Businesses in the Retail and Wholesale Industry. Journal of Business Administration Association of Private Higher Education Institutions of Thailand, 7(Special), 49-72.
Kittisak, U. (2018). Technology innovation and system quality affect the effectiveness of digital Marketing in Thailand 4.0 of Internet online Business. Journal of the Association of Researchers, 23(3), 190-203.
Nakpetch, S. (2010). Academic Administration and the Effectiveness of Basic Education Schools under the Suphan Buri Educational Service Area Office 2. (Master’s Thesis). Faculty of Education, Silpakorn University. Bangkok.
Sa-nguan Nam, C. (2010). Theory and practice in school administration.Bangkok: Bookpoint.
Santibunpirom, P. (2009). Academic Administration. Bangkok: Buck Point Printing House.
Sriinsut, S. (2007). Community and School Participation for Basic Education Management. (Doctoral Dissertation). Srinakharinwirot University. Bangkok.
Sunthornprasert, S. (2010). The Creation of Teaching Media And Learning Innovation To Develop Learners. Suphan Buri: Suvarnabhumi School.
Thiraphongsamre, S. (2011). Efficiency of Academic Administration of School Administrators in the Mittraphap School Group, Yala Primary Educational Service Area Office 1. (Master’s Thesis). Faculty of Education Educational Administration Program Yala Rajabhat University. Yala.
Thong, A. (2005). Participation in Academic Administration of Teachers at Wat Samakkhi Tham School, Wang Thonglang District Office. Affiliated with Bangkok. (Master’s Thesis). Graduate School: Chandrakasem Rajabhat University. Bangkok.
Wong Anutarot, P. (2010). Academic administration. Bangkok: Bangkok Supplementary Media Center.