พุทธทาสภิกขุ: ปณิธานข้อที่ 2 การทำความเข้าใจระหว่างศาสนา เพื่อเสริมสร้างสันติสุขในสังคมไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่อง “พุทธทาสภิกขุ : ปณิธานข้อที่ 2 การทำความเข้าใจระหว่างศาสนาเพื่อเสริมสร้างสันติสุขในสังคมไทย” ในการศึกษานี้ใช้วิธีการศึกษาและค้นคว้าจากเอกสารที่เกี่ยวข้องโดย แยกประเภท เรียบเรียง สรุปสาระสำคัญ และวิเคราะห์เนื้อหา โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ 1) ปัญหาและอุปสรรคการทำความเข้าใจระหว่างศาสนา 2) จุดร่วมทางศาสนา : เป้าหมายการทำความเข้าใจระหว่างศาสนา และ 3) หลักพุทธธรรมสำหรับการทำความเข้าใจระหว่างศาสนาเพื่อเสริมสร้างสันติสุขในสังคมไทย ปณิธานข้อที่ 2 การทำความเข้าใจระหว่างศาสนาตามมุมมองของพุทธทาสภิกขุพบว่าการทำความเข้าใจระหว่างศาสนามีปัญหาและอุปสรรค 2 อย่าง คือ 1) อคติและอุปาทาน และ 2) 3 ก. กิน กาม และเกียรติ ทั้ง 2 อย่างเป็นปัญหาและอุปสรรคในการทำความเข้าใจระหว่างศาสนาโดยตรง ในส่วนของจุดร่วมทางศาสนาอันเป้าหมายการทำความเข้าใจระหว่างศาสนามีเป้าหมาย 2 อย่างคือ 1) การทลายความเห็นแก่ตัว และ 2) การสร้างสันติสุขระดับบุคคลและระดับสังคม และในส่วนของหลักพุทธธรรมในการทำความเข้าใจระหว่างศาสนามี 2 อย่างคือ 1) หลักสัมมาทิฏฐิคือการสร้างจิตสำนึกใหม่ทางศาสนา 2) หลักเมตตาธรรม หลักพุทธธรรมดังกล่าวทำเกิดความเข้าใจระหว่างศาสนาและสร้างสันติสุขในการอยู่ร่วมกันระหว่างศาสนาในสังคมไทยได้
Article Details
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ ยินยอมว่าบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
Anand, S. (1990). Alternative challenge: violence and none violence. Bangkok: Komolkeemthong Foundation.
Kamdee. (1998) .Theology. Bangkok: Kasetsart University Press.
Phra Dusadee Methangkuro. (1998). Social Developmentt From the point of view of Buddhadasa.Bangkok: Komolkeemthong Foundation.
Phra Dhammapitaka . (P.A. Payutto). (2002). Threat of Buddhism in Thailand. Bangkok: Bangkok: sahadhammika Press.
__________. (P.A.Payutto). (1998). Human Rights’Social Harmony or Social disintegration. Bangkok: sahadhammika Press.
Phra Brahmagunabhorn (P.A.Payutto). (2012). Importance of Buddhism as
national religion, Bangkok: Sahadhammika.
Buddhadasa. (2006) . The three wishes of Buddhadasa Bhikku . Bangkok: Sukkhapabjai Press.
__________ . (1970). Politics is Dhamma. Bangkok: Arunvittaya Press.
__________ . (2005). Happiness. Bangkok: Sukkhapabjai Press.
__________ . (2006). Dhammic Socialism. Bangkok: Sukkhapabjai Press.
__________ . (2006 ). 60 years of king on Reigning and 100 years of Buddhadasa. Bangkok: Charenwit Press.
__________ . (1888) World Peace. Surat Thani : Dhammadana Foundation .
Amornvarapipat. (2017). Lifestyle’ Five Religious in Thailand. Bangkok: mcu.Press.
Dokbue. (2006) Comparative Religions . Bangkok: burapasarn Press.
Jandang . (2018) Development Quality of Life According to Religion. Bangkok: O.S Printing House Press.
Promta. (2003). Man and Religions. Bangkok: Siam Press.
__________ . (2003). Buddhist Philosophy Man Society and Athical Issues. Bangkok: Siam Press.
Samukkarn. (1996). Belief and Religions in Thai Society Social Analysis – Anthropology. Bangkok: Odian Store Press.
Ungphakorn. (1985). Santi Pracha Dhamma. Bangkok: Komolkeemthong Foundation.
Srisaarn . (1986). Education Administration for Peace. Bangkok : Chulalongkorn University Press.
Vetsuvan . (2006) . Important person Buddhadasa of Thai and World. Bangkok: Arunvittaya Press.