การกำเนิดของพรรคอนาคตใหม่ที่มีผลกระทบต่อพรรคเพื่อไทยในการเลือกตั้งปีพุทธศักราช 2562: กรณีศึกษาจังหวัดขอนแก่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของความนิยมทางการเมือง และพรรคการเมืองของประชาชนจังหวัดขอนแก่นต่อพรรคการเมืองที่มีจุดยืนในฝ่ายประชาธิปไตย ซึ่งในการเลือกตั้งปี พุทธศักราช 2562 ได้มีการแข่งขันอย่างชัดเจนระหว่างพรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยสองพรรคการเมือง จากการเลือกตั้งครั้งนี้ คือ พรรคเพื่อไทย ที่เป็นพรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยที่ครองใจชาวอีสาน และ ชาวขอนแก่น มาอย่างยาวนาน และ พรรคอนาคตใหม่ พรรคการเมืองใหม่ ที่แสดงจุดยืนในการต่อต้านการรัฐประหาร ผลการศึกษา คะแนนพรรคเพื่อไทยลดลงอย่างเห็นได้ชัด และพรรคอนาคตใหม่มีบทบาทในการเข้ามาทำให้กระแสนิยมพรรคเพื่อไทยลดลง เมื่อวิเคราะห์ถึงกลยุทธ์การตลาดทางการเมือง และ ปัจจัยต่างๆที่ส่งผลกระทบต่อกลยุทธ์ของพรรคการเมืองทั้งสองฝ่าย
Article Details
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ ยินยอมว่าบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
Kongkirati, P. & Kanchoochat, V. (2018). The Prayuth Regime: Embedded Military and Hierarchical Capitalism in Thailand. TRaNS: Trans-Regional and -National Studies of Southeast Asia, 6(2), 279–305.
Nantawaropas, N. (2011). Election Victory by Using Market Force. Bangkok: Mass Media Publisher.
Newman, B. (1994). The Marketing of the President. California: SAGE Publication Inc.
Ratchattranon, W. & Akahat, N. (2014). The Popularity of the Northeastern People on the Pheu Thai Party: A Case Study of Khon Kaen. Kasetsart University Political Science Review Journal, 1(1), 75-100.
Samudavanija, C. (1981). Election, Political Party, Parliament and Thai Royal Army. Bangkok: Bunnakij.
Srichamni, P. (2014). The Failure of Pheu Thai Party in Using Political Marketing During 2011 General Election Campaign in Bangkok. Thesis Master of Arts. (Program in Politics and Government). Faculty of Political Science. Chulalongkorn University.
Sripokangkul, S. (2015). Reconciliation as Free-Floating Signification: Reconciliation after 2014 Coup in Thailand. Asia-Pacific Social Science Review, 15(2), 108-132.
Sripokangkul, S. (2019a). General Election in 2019: The Pheu Thai Party and Losing Seats in Khon Kaen. Governance Journal, 8(2), 285-316.
Sripokangkul, S. (2019b). Political Activity and Electoral Behavior in Thailand’s General Election 2019: A Case Study of Khon Kaen Province. Bangkok: King Prajadhipok’s Institute.
Waroonkupt, S. (2018). Bangkokians Use Facebook the most in the World. Ahead Asia Retrieved September 16, 2019, from https://ahead.asia/2018/04/23/%E0 %B8%B4bangkok-mostfb-user-city-2018/