รูปแบบนวัตกรรมเพื่อพัฒนาสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 สู่ยุค Thailand 4.0

Main Article Content

สุภาวดี ลาภเจริญ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษารูปแบบนวัตกรรมในการพัฒนาสถานศึกษา สังกัดระดับมัธยมศึกษาเขต 6 สู่ยุค Thailand 4.0  2) เพื่อนำรูปแบบนวัตกรรมมาพัฒนาสถานศึกษา สังกัดระดับมัธยมศึกษาเขต 6 สู่ยุค Thailand 4.0  3) เพื่อนำรูปแบบนวัตกรรมมาปรับใช้กับสถานศึกษา สังกัดระดับมัธยมศึกษาเขต6 สู่ยุค Thailand 4.0 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจำนวน 363 ตัวอย่างคือ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1- 6 ระดับชั้นละ 30 คน จำนวนทั้งหมด 180 คน และ บุคลากร จำนวนทั้งหมด 183 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลปฐมภูมิ และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบโควต้า


        ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุต่ำกว่า 20 ปี มีตำแหน่งในสถานศึกษาเป็นนักเรียน โดยรวม พบว่า ด้านการจัดการการศึกษาในภาพรวม จัดอยู่ในเกณฑ์มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.44 (SD=0.591) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ย พบว่า ลำดับแรก คือ การจัดการองค์การ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.50 (SD=0.596) จัดอยู่ในเกณฑ์มากที่สุด ด้านการจัดการการศึกษาในภาพรวม จัดอยู่ในเกณฑ์มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 (SD=0.586) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ย พบว่า ลำดับแรก คือ การสนับสนุน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.46 (SD=0.595) จัดอยู่ในเกณฑ์มากที่สุด ด้านทรัพยากรการเรียนรู้ในภาพรวม จัดอยู่ในเกณฑ์มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 (SD=0.584) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ย พบว่า ลำดับแรก คือ ข้อมูลความรู้หรือเนื้อหาวิชาทั้งสองด้านมีค่าเฉลี่ยเท่ากันอยู่ที่ 4.56 (SD=0.574) จัดอยู่ในเกณฑ์มากที่สุด ด้านผู้เรียนในภาพรวม จัดอยู่ในเกณฑ์มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.36 (SD=0.625) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ย พบว่า ลำดับแรก คือ พัฒนาเทคโนโลยีในด้านความสามารถ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.46 (SD=0.547) จัดอยู่ในเกณฑ์มากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

BenJarongkit, Y. (1999). Analysis of recipients. Bangkok: Faculty of Communication Arts Chulalongkorn University.

Charnfan, P. (2013). Teachers' Opinion on Academic Administration of School Network Administrators in Bangkok. Phrom Phiram District 6, Phitsanulok Province. (Master's Thesis). Graduate school: Thongsuk College. Bangkok.

Jarumani, N. (2001). Tourism and Tourism Industry Management. Bangkok: Printing Houses Printing House.

Jutathep, W. (2012). Concepts, theories, innovations and educational Information technology. Retrieved September 5, 2019, from http://mokza025.blogspot.com/.

Kongthiang, S., & Sutthi, P. Z. (1999). Educational administration theory. Retrieved December 16, 2017, from https://thirasakchodcham.wordpress.com/2015/11/04/.

Khamungkhun, P. (2013). Academic Administration Competency of School Administrators in Chon Buri Province under the Office of Secondary Education Service Area 18. (Master's Thesis). Graduate school: Phitsanulok University. Phitsanulok.

Loeraphornkarn, B. (2012). Quality Improvement of Small Schools with Internal Quality Assurance System. Journal of Social Sciences and Human Sciences in Buddhist Styles.

Malithong, G. (2000). Principle and theory. Retrieved September 5, 2019, from https://sites.google.com/site/jiraporninnovation/theory.

Plook Teacher. (2019). How does teaching and learning in the 4.0 era look like? Retrieved September 5, 2019, from https://www.trueplookpanya.com/blog/content/71421

Pothong, D. (2015). Academic Administration of Small Elementary Schools under the Office of Trang Educational Service Area, Area 2. Retrieved December 20, 2019, from http://ptu.ac.th/StudentServe/input/thesis/(1)(111118103526).pdf.

Seels, & Ricchey. (2017). Thai education in the era of Thailand 4.0. Retrieved September 7, 2019, from https://sites.google.com/site/sumet7sbt/thailand-4-0/karsuksathiyniyukhthailand4.0.

Sinthaphanon, S., (2010). Innovative teaching and learning to improve the quality of youth. Bangkok: Department of Equity Limited. 9119 Printing Techniques.

Suksawang, S. (2017). Challenges for modern leaders. Retrieved December 16, 2017, from https://www.sasimasuk.com/16768188/vuca-world.