อุดมการณ์ความเป็นไทยที่ปรากฏในนิตยสารอนุสาร อ.ส.ท.
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีทางภาษากับอุดมการณ์ความเป็นไทยในนิตยสารอนุสาร อ.ส.ท. ด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) ตั้งแต่เดือนมกราคม 2558 - ธันวาคม 2561 รวม 48 ฉบับ โดยใช้แนวคิดวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ ผลการวิจัยพบว่า อุดมการณ์ความเป็นไทยในนิตยสารอนุสาร อ.ส.ท. ประกอบด้วยชุดความคิด “ความเป็นไทย” 3 ชุดความคิด คือ “ความเป็นไทย คือ ความล้ำค่า” “ความเป็นไทย คือ ความบริสุทธิ์” และ “ความเป็นไทย คือ องค์ความรู้” โดยมีการใช้กลวิธีทางภาษา คือ กลวิธีทางอรรถศาสตร์ (การเลือกใช้คำศัพท์ที่สื่อถึงความเป็นไทย) กลวิธีทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ (การอ้างถึง สหบท มูลบท การใช้ทัศนภาวะ) และกลวิธีทางอรรถศาสตร์ร่วมกับกลวิธีวัจนปฏิบัติศาสตร์ (อุปลักษณ์) เพื่อถ่ายทอดความหมายความเป็นไทยผ่านบทความแนะนำการท่องเที่ยว ทำให้ผู้อ่านรู้สึกว่าการท่องเที่ยววิถีไทยเป็นรูปแบบกิจกรรมที่ต้องทำ เพื่อให้ตนเองได้สัมผัสความล้ำค่า ความบริสุทธิ์ และได้รับความรู้นั่นเอง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- ข้อความรู้ใดๆ ตลอดจนข้อคิดเห็นใดๆ เป็นของผู้เขียนแต่ละท่านโดยเฉพาะ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และกองบรรณาธิการวารสารมนุษยศาสตร์ฯ ไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
- บทความใดๆ ที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมนุษยศาสตร์ หากต้องการตีพิมพ์ซ้ำต้องได้รับอนุญาตก่อน
References
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2558). แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558 – 2560. สืบค้น 20 ธันวาคม 2562, จาก https://www.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7114
กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์, และ จันทิมา เอียมานนท์. (2549). มองสังคมผ่านวาทกรรม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กาญจนา แก้วเทพ. (2549). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เอดิสันเพรสโปรดักส์.
กาญจนา สุคัณธสิริกุล. (2556). การพัฒนาคุณภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (รายงานการวิจัย). นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
จริยา ชูช่วย. (2558, กันยายน). บางแสนถึงอ่างศิลา 51 ปี ที่ปราโมทย์เล่าว่า... จริยาจะยังเห็นไหม. อนุสาร อ.ส.ท., 56(2), 41.
จริยา ชูช่วย. (2560, เมษายน). ถ้าไม่รีบร้อนแวะนอนบ้านเรานะ “พัทลุง”. อนุสาร อ.ส.ท., 57(9), 62.
จันทิมา อังคพณิชกิจ. (2554). สหบท: มุมมองใหม่ในการวิเคราะห์ภาษาและวาทกรรม. วารสารภาษาและภาษาศาสตร์, 29(2), 1-26.
ชญานี รัตนรอด. (2550). การใช้ภาษาและกลวิธีการเขียนสารคดีท่องเที่ยวในอนุสาร อ.ส.ท. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ชนกพร อังศุวิริยะ. (2558). ทัศนภาวะในวาทกรรมการเงิน: สินเชื่อ บัตรเครดิตและบัตรกดเงินสดจากสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์. วารสารภาษาและภาษาศาสตร์, 34(1), 1-17.
ชัชวดี ศรลัมพ์. (2548). อุปลักษณ์ตามแนวคิดของทฤษฎีภาษาศาสตร์ปริชาน. วารสารวารสารศิลปศาสตร์, 5(5), 8.
ณัชช์นนท์ ทองแพง. (2560). ภาพตัวแทนความเป็นไทยผ่านสติ๊กเกอร์ไลน์ (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2556). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์: แนวคิดและการนำมาศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธเนศ งามสม. (2560, กันยายน). พรุโต๊ะแดง ลมหายใจแห่งวิถีชีวิตแดนใต้. อนุสาร อ.ส.ท., 58(2), 55.
นาตยา สำราญทรัพย์. (2559, สิงหาคม). เที่ยวชม...ยลตลาดริมน้ำท่าจีน. อนุสาร อ.ส.ท., 57(1), 34.
บุญนาค คดดี. (2558, พฤษภาคม). ชวนคนไม่เอาถ่าน แอ่วน่านม่วนใจ๋ ไปแบบเนิบ ๆ. อนุสาร อ.ส.ท., 55(10), 18.
ประชา สุวีรานนท์.(2558). อัตลักษณ์ไทย: จากไทยสู่ไทย ๆ. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.
พรศิริ ขุนเดชสัมฤทธิ์. (2558, พฤศจิกายน). สายธารแห่งกาลเวลา “ชากังราว”. อนุสาร อ.ส.ท., 56(4), 90.
พริมา อ่วมเจริญ. (2560, กันยายน). คลองแดน เมื่อแผ่นน้ำไม่ได้แบ่งแยกเราสอง. อนุสาร อ.ส.ท., 57(10), 81.
พริมา อ่วมเจริญ. (2560, พฤษภาคม). เสน่ห์จันท์...คืนวันสุกหวานในบ้านสวน. อนุสาร อ.ส.ท., 57(10), 27.
พริมา อ่วมเจริญ. (2560, สิงหาคม). รัก (ษ์) ไม่จางที่บางกะเจ้า. อนุสาร อ.ส.ท., 58(1), 55.
เพ็ญนภา คล้ายสิงห์โต. (2553). อุดมการณ์ทางเพศสภาพในพาดหัวข่าวอาชญากรรมไทย: การวิเคราะห์วาทกรรมเชิงวิพากษ์ (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภัททิรา วิภวภิญโญ. (2558). กลวิธีทางภาษาที่ปรากฏในบทเพลงของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ. วารสารศิลปศาสตร์, 15(2), 145-161.
ภาคภูมิ น้อยวัฒน์. (2559, มิถุนายน). หลากหลายหรรษา ชุมพร-ระนอง สองเมือง สองฟากทะเล. อนุสาร อ.ส.ท., 56(11), 101.
ภูพงัน ดาวกระจาย. (2560). ความเป็นธรรมชาติในวาทกรรมท่องเที่ยวไทย. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
มัญชุสา อังคะนาวิน. (2547). ปริจเฉทสารคดีท่องเที่ยวในอนุสาร อ.ส.ท. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรพงศ์ ไชยฤกษ์. (2558). ภาษาและอุดมการณ์ความเป็นชายที่ปรากฏในนิตยสาร จี เอ็ม: การศึกษาวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
วัลย์ลิกา จาตุประยูร. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความจงรักภักดีของลูกค้าผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตบนมือถือในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.
วินิจ รังผึ้ง. (2558, มีนาคม). สุดขอบฟ้าอันดามัน. อนุสาร อ.ส.ท., 55(8), 43.
วีวีระ อำพันสุข. (2551). ความเป็นไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
สมศักดิ์ ล่ำพงศ์พันธุ์. (2558, มกราคม). มหัศจรรย์ทะเลหมอกที่ดอยปุยหลวง. อนุสาร อ.ส.ท., 55(6), 55.
สายชล สัตยานุรักษ์. (2550). ประวัติศาสตร์วิธีคิดเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมไทยของปัญญาชน พ.ศ.2435-2535 (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
อภินันท์ บัวหภักดี. (2558, มีนาคม). มหกรรมเทศกาลประเพณีแห่งความสุข 12 เดือน มวยไทย ศิลปะไทย มรดกไทย มรดกโลก และไหว้ครูมวยไทยโลก. อนุสาร อ.ส.ท., 55(8), 20.
อุษา ศิลป์เรืองวิไล. (2559). ความเชื่อมโยงระหว่างการสื่อสารเรื่องค่านิยมหลักของไทย 12 ประการกับวัฒนธรรมไทย และอัตลักษณ์ไทยในทัศนะของวัยรุ่นไทยภายใต้กรอบแนวคิดบนพื้นฐานแนวคิดการใส่รหัสและถอดรหัสของ สจวร์ต ฮอลล์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 6(3), 88-100.
Althusser, L. (1971). Lenin and philosophy and other essays. London: New Left Books.
Fairclough, N. (1989). Language and power. London: Longman.
Fairclough, N. (1992). Discourse and social change. Cambridge: Polity Press.
Fairclough, N. (1995). Media discourse. London: Edward Arnold.
Fairclough, N. (2003). Analysing discourse: Textual analysis for social research. London: Routledge.
Kress, G. (1985). Ideological structures in discourse. In T. A. van Dijk (Ed.), Handbook of discourse analysis: Discourse in society (Vols. 4). Cambridge, MA: Academic Press.
Van Dijk, T.A. (1998). Ideology: A multidisciplinary approach. New York: Sage.