การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่นระหว่างการใช้วิธีการสอนแบบบรรยายกับการประยุกต์ใช้กิจกรรมการเรียนรู้โดยการสอน

Main Article Content

ไพลิน กลิ่นเกษร

บทคัดย่อ

งานวิจัยศึกษาเปรียบเทียบการจัดการเรียนการสอนระหว่างการสอนในรูปแบบการบรรยาย และการเรียนรู้โดยการสอน โดยทดลองจัดกิจกรรมให้นักศึกษารับบทบาทเป็นผู้สอนและสลับเป็นผู้เรียน เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการใช้กระบวนการเรียนการสอนที่แตกต่างกันโดยการใช้แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน และแบบวัดความพึงพอใจในการเรียนการสอน ผลการศึกษาพบว่าคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งกล่าวได้ว่ากิจกรรมการเรียนรู้โดยการสอนช่วยให้เกิดการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงกว่าการสอนแบบการบรรยาย ในด้านความพึงพอใจ นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยการสอนอยู่ในระดับมาก ทั้งด้านการจัดการเรียนรู้และด้านกระบวนการกลุ่ม

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิจัย / บทความวิชาการ

References

พัชราพร แก้วกฤษฎางค์. (2563). การพัฒนากรอบมาตรฐานภาษาญี่ปุ่น สำหรับผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นเป็นวิชาเอกในสถาบันอุดมศึกษาไทย. วารสารญี่ปุ่นศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 37(2), 81-94.

ไพลิน กลิ่นเกษร. (2561). ทัศนคติและพฤติกรรมการเรียนภาษาญี่ปุ่นของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

รุ่งกานต์ ใจวงศ์ยะ. (2560). ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้โครงการเป็นฐานในรายวิชา สต423 สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์. ใน การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 9 “ราชมงคลสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ยั่งยืนสู่ประเทศไทย 4.0” (น.713-719). นครปฐม: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

ฤทัย พานิช. (2559). การจัดการเรียนการสอนภาษาที่สองโดยใช้วิธีการสอนไวยากรณ์-แปล. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 13(1), 67-77.

วันวิธู สรณารักษ์. (2554). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 โดยการเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษาหลักสูตรบัญชี (สารนิพนธ์เศรษฐศาสตรบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

สิรจิตต์ เดชอมรชัย. (2560). กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกสำหรับผู้เรียนภาษาฝรั่งเศสระดับเริ่มต้น. วารสารสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ฯ, 40(2), 16-27.

สิรจิตต์ เดชอมรชัย, และ ชนยา ด่านสวัสดิ์. (2560). กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมอภิปัญญาของผู้เรียนภาษาฝรั่งเศสระดับเริ่มต้น. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 14(3), 1-14.

สิริพร ปาณาวงษ์. (2557). Active Learning เทคนิคการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21. สืบค้น 20 สิงหาคม 2563, จาก http://apr.nsru.ac.th/Act_learn/myfile/10062014104828_3.pdf.

สุณีย์รัตน์ เนียรเจริญสุข. (2561). ประสิทธิผลของกิจกรรมการอ่านร่วมกันกับเพื่อนในวิชาการอ่านภาษาญี่ปุ่น. วารสารญี่ปุ่นศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 35(2), 68-81.

Bargh, J. A., & Schul, Y. (1980). On the cognitive effects of teaching. Journal of Educational Psychology, 72(5), 593–604.

Benware, C. A., & Deci, E. L. (1984). Quality of learning with an active versus passive motivational set. American Educational Research Journal, 21(4), 755–765.

Cohen, J. (1986). Theoretical considerations of peer tutoring. Psychology in the Schools, 23(2), 175–186.

Fiorella, L., & Mayer, R. E. (2013). The relative benefits of learning by teaching and teaching expectancy. Contemporary Educational Psychology, 38(4), 281–288.

Fuchs, D., Fuchs, L. S., & Burish, P. (2000). Peer-assisted learning strategies: An evidence-based practice to promote reading achievement. Learning Disabilities Research & Practice, 15(2), 85–91.

National Training Laboratories Institute. (n.d.). Learning pyramid [Image]. Retrieved June 18, 2019, from http://junjunsaranya1990.blogspot.com/2015/08/learning-pyramid.html

Palincsar, A. S., & Brown, A. L. (1984). Reciprocal teaching of comprehension-fostering and comprehension-monitoring activities. Cognition and Instruction, 1(2), 117–175.

Rohrbeck, C., Ginsburg-Block, M., Fantuzzo, J., & Miller, T. (2003). Peer-assisted learning interventions with elementary school students: A meta-analytic review. Journal of Educational Psychology, 95(2), 240–257.

Roscoe, R. D., & Chi, M. T. H. (2007). Understanding tutor learning: Knowledge-building and knowledge-telling in peer tutors' explanations and questions. Review of Educational Research, 77(4), 534–574.

Roscoe, R. D., & Chi, M. T. H. (2008). Tutor learning: The role of explaining and responding to questions. Instructional Science, 36(4), 321–350.

Slavin, R. E. (1983). Cooperative learning. New York: Longman.

Topping, K. J., & Ehly, S. W. (2001). Peer assisted learning: A framework for consultation. Journal of Educational and Psychological Consultation, 12(2), 113-132.

Webb, N. M. (1982). Peer interaction and learning in cooperative small groups. Journal of Educational Psychology, 74(5), 642–655.