คุณค่าวรรณกรรมพุทธประวัติต่อการสร้างสรรค์จิตรกรรมล้านนา

Main Article Content

ศิริศักดิ์ อภิศักดิ์มนตรี

บทคัดย่อ

          บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์คุณค่าของวรรณกรรมพุทธประวัติที่มีต่องานพุทธศิลป์ โดยผู้วิจัยได้ตรวจสอบภาพจิตรกรรมฝาผนังด้านหลังพระประธานในวิหารวัดหลวงราชสัณฐาน จังหวัดพะเยา ที่ปรากฏภาพหญิงชรา 3 คน แสดงกิริยาเดินสวนทางกับกองทัพพระยามารที่เข้ารุกรานพระพุทธเจ้าในเหตุการณ์มารผจญจากวรรณกรรมพุทธประวัติ 8 เล่ม ผลการวิจัยพบว่า ภาพหญิงชราทั้ง 3 หมายถึง ธิดามาร ตามเนื้อหาในวรรณกรรมพุทธประวัติเรื่องสัมภารวิบาก

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิจัย / บทความวิชาการ
Author Biography

ศิริศักดิ์ อภิศักดิ์มนตรี

นายศิริศักดิ์ อภิศักดิ์มนตรี

นิสิตปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พระพุทธศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

วิทยาเขตเชียงใหม่

E-Mail: [email protected]

References

ก่องแก้ว วีระประจักษ์และคณะ (แปล). (2530). ชินมหานิทาน เล่ม 2. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.

คณะกรรมการวัดหลวงราชสัณฐานประวัติ. (2554). วัดหลวงราชสัณฐานและตำราโหราศาสตร์. พะเยา: วัดหลวงราชสัณฐาน.

ติชนัท ฮันท์. คือเมฆสีขาวทางก้าวเก่าแก่. (รสนา โตสิตระกูล และสันติสุข โสภณสิริ, แปล). (2549). กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง.

ธัญญา สังขพันธานนท์. (2559). แว่นวรรณคดี ทฤษฎีร่วมสมัย. ปทุมธานี: นาคร.

บำเพ็ญ ระวิน. (2532). ปฐมสมโพธิฉบับล้านนา. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (2556). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ. (2513). ปทานุกรม บาลี ไทย อังกฤษ สันสกฤต. กรุงเทพฯ: ศิวพร.

พระธรรมมหาวีรานุวัตร (แปล). (2505). สัมภารวิบาก. กรุงเทพฯ : ส.ธรรมภักดี.

พระมหาสมบูรณ์ วุทฺฒิกโร. (2560). วรรณกรรมพระพุทธศาสนาในสังคมยุคใหม่. ค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2560 จาก www.mcu.ac.th/site/thesiscontent.

พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. (2545). หาพระหาเจ้า. กรุงเทพฯ: มติชน.

ภัทรุตม์ สายะเสวี. (2527). จิตรกรรมฝาผนังวิหารวัดหลวงราชสัณฐาน. วารสารศิลปากร, 17-26.

แสง มนวิทูร (แปล). (2512). ลลิตวิสตระ. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.

วุดวิด ร็อกฮิล. (2510). พุทธประวัติฝ่ายมหายานในธิเบต. (ราชบัณฑิตยสภา, แปล). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. (2540). ปฐมสมโพธิกถา. กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2539). สารานุกรมพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย.

__________. (2541). พุทธประวัติ. กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย.

สุภาพรรณ ณ บางช้าง. (2526). ประวัติวรรณคดีบาลีในอินเดียและลังกา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์.

__________ . (2533). วิวัฒนาการวรรณคดีบาลีสายพระสุตตันตปิฎกที่แต่งในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรพล ดำริห์กุล. (2527). กรณีตัวอย่างการพังทลายของวิหารวัดหลวงราชสัณฐาน พะเยา. วารสารศิลปากร, 26-36.

สุภัทรดิศ ดิศกุล. (2545). ศิลปะอินเดีย. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.

อัศวโฆษ. (2547). มหากาพย์พุทธจริต. (สำเนียง เลื่อมใส, แปล). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เอ็ควิน อาร์โนลด์. (2542). ประทีปแห่งทวีปอาเซีย (เจ้าศักดิ์ประเสริฐ นครจำปาศักดิ์, แปล). กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.