ความคิดเห็นของผู้สอนและผู้เรียนที่มีต่อหนังสือเรียนภาษาเกาหลีขั้นพื้นฐานระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย: กรณีศึกษาไวยากรณ์ภาษาเกาหลี

Main Article Content

กาญจนา สหะวิริยะ
ษมาวดี กั้งแฮ

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้สอนและผู้เรียนที่มีต่อการใช้หนังสือเรียนภาษาเกาหลีขั้นพื้นฐานประกอบการจัดการเรียนไวยากรณ์ภาษาเกาหลี ในด้านหลักสูตรและเนื้อหารายวิชา วิธีการอธิบายและนำเสนอไวยากรณ์ การยกตัวอย่างประโยค และการสร้างแบบฝึกหัด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ ผู้สอนจำนวน 10 คน และผู้เรียนจำนวน 164 คนที่ใช้หนังสือเรียนภาษาเกาหลีขั้นพื้นฐานประกอบการเรียนการสอนไวยากรณ์ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้สอนและผู้เรียนที่มีต่อหนังสือเรียนภาษาเกาหลีขั้นพื้นฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1.ด้านหลักสูตรและเนื้อหารายวิชา ผู้สอนคิดว่ามีความเข้าใจหลักสูตรและเนื้อหารายวิชาที่กำหนดซึ่งมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 2.ด้านการอธิบายและนำเสนอไวยากรณ์ ผู้สอนคิดว่าการอธิบายและนำเสนอไวยากรณ์ของหนังสือมีความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลางแต่ผู้เรียนคิดว่าอยู่ในระดับมาก 3.ด้านแบบฝึกหัด ผู้สอนและผู้เรียนคิดว่าแบบฝึกหัดจำเป็นต่อการศึกษาไวยากรณ์และหนังสือที่ใช้ประกอบการเรียนไวยากรณ์มีแบบฝึกหัดประกอบอยู่ในระดับมากที่สุด และ 4.ด้านตัวอย่างประโยค ผู้สอนและผู้เรียนคิดว่าตัวอย่างประโยคในหนังสือมีประโยชน์ต่อการศึกษาไวยากรณ์อยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิจัย / บทความวิชาการ

References

กาญจนา สหะวิริยะ และษมาวดี กั้งแฮ. (2562). การศึกษาแนวทางการพัฒนาหนังสือไวยากรณ์ภาษาเกาหลีพื้นฐานสำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย. ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

ธญานี ยะมะโน. (2556). การสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องชาสมุนไพรพื้นบ้าน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). เชียงใหม่, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ธนณัฏฐ์ รูปสม. (2552). ภาษาเกาหลีอีกทางเลือกของการเรียนภาษา. [ออนไลน์]. สืบค้น 25 เมษายน 2563, จาก https://mgronline.com/qol/detail/9520000016372.

ปรียาพร วงค์อนุตรโรจน์. (2534). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

วัญญา วิศาลาภรณ์. (2540). การวิจัยทางการศึกษา :หลักการและแนวทางการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ แกรมมี่.

ศักดิ์ สุนทรมณี. (2535). เจตคติ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

สิริพร บุญนันทน์. (2539). ความคิดเห็นต่อการฝึกอบรมของข้าราชการกรมสรรพสามิต. ภาคนิพนธ์พัฒนาบริหารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิเคราะห์และวางแผนทางสังคม, คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2548). การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ. [ออนไลน์]. สืบค้น 25 เมษายน 2563, จาก https://www.moe.go.th/การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ.

Cunningsworth, A. (1995). Choosing your coursebook. Oxford: Heinemann.

Thornbury, S. (1999). How to teach grammar. Harlow: Pearson Longman.

Khongpheng, S. (2012). 태국 고등학습자를 위한 한국어 교재 개발 연구. 고려대학교 석사학위논문.

Kwon, H. S. (2014). A Study Curriculum Design in Korean Language for Middle/High School Learners in Thailand. Department of Global Korean Studies Graduate School of Culture Creation Kyung Hee Cyber University.

강승혜. (2010). 영어권 표준 한국어 교재 실태조사 및 개발 방안 연구. 국립국어원.

강현화. (2006). 한국어 문법 교수학습 방법의 새로운 방향. 「국어교육연구」. 서울대학교 국어교육연구소.

김정숙. (2002). 한국어 교수요목 설계와 교재 구성. 방영순 편, 21세기 한국어 교육의 현황과 과제, 한국문화사.

김영만. (2005), 한국어 교육의 이론과 실제, 역락.

도옥순. (2006). 태국에서의 한국어 문법교육의 실태 및 개선방향 연구. 이와여자대학교 석사학위논문.

민현식. (2002). 제2언어로서의 한국어 문법교육의 현황과 과제. 새국어생활,10(2). 국립국어원.

민현식. (2005). 한국어 문법 교육의 이론과 실제: 문법 교육의 푠준화와 다양화의 과제. 국어교육연구. 서울대학교국어교육연구소. 125-191 쪽.

서종학. (2001). 외국인 학습자를 위한 한국어교재의 평가기준에 대한 시고. 울산어문논집15. 울산대학교

송영숙. (2010). 태국 대학생의 한국어 학습실태분석을 통한 한국어 지도방안. 한남대학교 석사학위논문.

왕준룡. (2014). 중국인 학습자를 위한 한국어 문법 교재 개발 연구. 고려대학교 석사학위논문.

이미혜. (2005). 한국어 문법 교육 연구: 추측 표현을 중심으로. 이화여자대학교 박사학위논문.

이혜경. (2009). 교재의 분석 통한 한국어 교육 과정 개선안. 창원대학교 석사학위논문.

이해영. (2001). 학습자 중심 수업을 위한 교재 분석. 국제한국어교육학회.

이해영. (2006). 한국어 교재를 위한 어휘 및 문법 학습 활동 유형. 외국어로서의 한국어교육. 연세대학교 한국어어학당. 25-56 쪽.

고려대학교 한국어문화교육센터.(2009). 재미있는 한국어 1. 도서출판사 교보문고.

고려대학교 한국어문화교육센터.(2009). 재미있는 한국어 2. 도서출판사 교보문고.

고려대학교 한국어문화교육센터.(2009). 재미있는 한국어 3. 도서출판사 교보문고

이정희,김중섭, 조형용, 서윤남, 윤혜리, 윤연지.(2015). 문법1. Hawoo Publishing Inc.

이정희,김중섭, 조형용, 서윤남, 윤혜리, 윤연지.(2015). 문법2. Hawoo Publishing Inc.

이정희,김중섭, 조형용, 서윤남, 윤혜리, 윤연지.(2015). 문법3. Hawoo Publishing Inc.

이정희,김중섭, 조형용, 서윤남, 윤혜리, 윤연지.(2015). 문법4. Hawoo Publishing Inc.

서강대학교 한국학센터.(2000). 서강 한국어 1A. 서강대학교 한국어센터.

서강대학교 한국학센터.(2000). 서강 한국어 1B. 서강대학교 한국어센터.

서강대학교 한국학센터.(2000). 서강 한국어 2A. 서강대학교 한국어센터.

서강대학교 한국학센터.(2000). 서강 한국어 2B. 서강대학교 한국어센터.

서강대학교 한국학센터.(2000). 서강 한국어 3A. 서강대학교 한국어센터.

서강대학교 한국학센터.(2000). 서강 한국어 3B. 서강대학교 한국어센터.

서울대학교 언어교육원.(2009). 한국어 1. 도서출판사 (주)문진미디어.

서울대학교 언어교육원.(2009). 한국어 2. 도서출판사 (주)문진미디어.

서울대학교 언어교육원.(2009). 한국어 3. 도서출판사 (주)문진미디어.