สถานภาพการวิจัยวรรณกรรมท้องถิ่นภาคเหนือในรอบสองทศวรรษ (พ.ศ.2540-2560)

Main Article Content

พัชลินจ์ จีนนุ่น

บทคัดย่อ

This article aimed at synthesizing the status of the Northern regional literature researches in 2 decades (1997-2017). The data was collected from postgraduate research abstracts and published research papers that used Northern regional literature data during 1997-2017. The findings showed that 133 Northern regional literature written works were examined by 19 educational institutions, including public universities, Rajabhat universities, and private universities. Such data was the most used by Chiang Mai University, followed by Naresuan University and Silpakorn University. The popular fields under investigation were language, literature, and comparative literature. Those conducting the studies involved postgraduate students, university teachers, and general public. The areas that received the most attention were tales and religions. Most of the researchers conducting these studies focused on examining components of literature in terms of formats, language, content, conceptions, and reflections; rather than applying postmodernism conceptions. The issue on wisdom has been taken into account during the last decade. Nevertheless, documentary research was still mainly used as the research methodology. Some of the researchers conducted their studies using data from academic papers that transcribed existing literature. As a consequence of this, there appeared to be a paucity of data on new literature.

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิจัย
Author Biography

พัชลินจ์ จีนนุ่น, Thaksin university

Thai department, Humanities and Social sciences, Thaksin University Thailand 90000

[email protected]

References

กิ่งแก้ว เพ็ชรราช. (2543). วิเคราะห์นิทานลุ่มน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์. รายงานผลการวิจัย. อุตรดิตถ์ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์

ขนิษฐา รัติวนิช. (2546). ความเปรียบในปัญญาสชาดกฉบับล้านนา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

คีรินทร์ หินคง. (2551). การศึกษาเรื่องมิลินทปัญหาฉบับล้านนา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

จงรักษ์ ชัยมณี. (2550). การวิเคราะห์วัฒนธรรมกับภาษาจากปริศนาคำทายล้านนา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

จันจิรา ธรรมยา. (2553). ภาพตัวแทนของผู้หญิงในวรรณกรรมล้านนา: กรณีศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมสามสมัย เรื่อง ค่าวซอเจ้าสุวัตร นางบัวคำ บทละครซอเรื่องน้อยไจยานางแว่นแก้ว นวนิยายเรื่องดงคนดิบ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, เชียงราย.

เจือง ทิ ฮั่ง. (2558). การวิเคราะห์คุณค่าของนิทานพื้นบ้านเพื่อบูรณาการการเรียนการสอน กรณีศึกษาเปรียบเทียบนางเติ๊ม นางก๊ามกับนางอุทธรา. รายงานผลการวิจัย. ลำปาง: มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.

ชยุตภัฎ คำมูล. (2553). วรรณกรรมประกอบพิธีกรรมล้านนา: ลักษณะเด่น ภูมิปัญญา และคุณค่า. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ญาวิณีย์ ศรีวงศ์ราช. (2544). การศึกษาแนวคิดเชิงปรัชญาเรื่อง “ขวัญ” ในวรรณกรรมพิธีกรรมล้านนา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

ณิชกุล คารินทร์. (2557). กลวิธีการเชื่อมโยงความในนิทานตลกพื้นบ้านล้านนา (เจี้ยก้อม). วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

ดุษฎีพันธุ์ พจี. (2540). การศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมเรื่อง “ควายสามเขา”. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

ตุลาภรณ์ แสนปรน. (2550). การศึกษาวรรณกรรมทำนายของล้านนา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนา. (2561). สามทศวรรษแห่งวรรณกรรมล้านนาศึกษา (พ.ศ. 2530 – 2560). สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2562 จาก http://www.thaistudies.chula.ac.th/2018/12/17.

ธวัช ปุณโณทก. (2540). วิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่นเชิงเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ธัญญพัทธ์ มิตรศรัณย์. (2550). การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมล้านนาเรื่องสุวัณณเมฆะหมาขนคำและวรรณกรรมลาวเรื่องหมาหยุย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.

นัยนา ครุฑเมือง. (2547). นวนิยายอิงประวัติศาสตร์ล้านนา : ภาพสะท้อนการเมืองและสังคม. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

บุบผา ยันอินทร์ และคณะ. (2547). วิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมล้านนาที่ปรากฏในเพลงลูกทุ่งสาวซอของเพ็ญศรี ผ่องศรี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.

ปฐม หงษ์สุวรรณ. (2554). ตำนานพระพุทธรูปล้านนา: พลังปัญญาความเชื่อและความสัมพันธ์กับท้องถิ่น. รายงานผลการวิจัย. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ประพนธ์ เรืองณรงค์ และเสาวลักษณ์ อนันตศานต์. (2545). ภูมิปัญญาทางภาษา. กรุงเทพฯ :

โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.

ปรียา หิรัญประดิษฐ์ และสมเกียรติ วัฒนาพงษากุล. (2554). เอกสารการสอนชุดวิชา ภาษาไทย 8 (คติชนวิทยาสำหรับครู) หน่วยที่ 10. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ปรียานุช อนุสุเรนทร์. (2540). การศึกษาวิเคราะห์คัมภีร์ที่ใช้เทศน์ในเทศกาลเข้าพรรษาของล้านนา : กรณีศึกษาจาก 4 วัด ในจังหวัดเชียงใหม่และลำพูน. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

ปิยพร คลศิลป์. (2552). การศึกษาบทบาทของผู้หญิงในนิทานพื้นบ้านล้านนา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

พรพรรณ วรรณา. (2544). การศึกษาวิเคราะห์เพลงตลกคำเมือง. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

พรพิมล ค้าขาย. (2548). การวิเคราะห์ภูมิปัญญาท้องถิ่นจากนิทานพื้นบ้านของอำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

พระภาณุมาศ ธมฺมานนฺโท (ทิลาวรรณ). (2550). การศึกษาเชิงวิเคราะห์วรรณกรรมพระพุทธศาสนาล้านนา เรื่อง ปิฏกะทั้งสาม. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

พวงผกา หลักเมือง. (2552). การวิเคราะห์สำนวนโวหารเชิงมโนทัศน์ในตำนานของล้านนา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

แม่ชีวิมิตติยา (สุภาพรรณ ณ บางช้าง). (2554). จักรวาฬทีปนี: ลักษณะเด่น ภูมิปัญญา และคุณค่า. รายงานผลการวิจัย. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

รังสรรค์ จันต๊ะ. (2555). ภูมินามพื้นบ้าน: ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นกับวรรณกรรมพื้นบ้านในเขตภาคเหนือตอนบน. รายงานผลการวิจัย. แพร่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

วกุล มิตรพระพันธ์. (2559). วรรณกรรมและพิธีกรรมบอกตัวตนคนพลัดถิ่นของชาวไทลื้อเมืองยอง หมู่บ้านร่มโพธิ์ทอง ตำบลท่าก๊อ อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

วรธิดา อุดมสม. (2548). การคัดสรรและสรรค์สร้างนิทานพื้นบ้านล้านนาสำหรับเด็ก. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

วราภา เลาหเพ็ญแสง. (2545). วิเคราะห์ตำนานภาคเหนือเพื่อการสอนวรรณกรรมท้องถิ่น. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

วัชรินทร์ แก่นจันทร์. (2555). วาทกรรมความเป็นอื่นในวรรณกรรมล้านนา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

วาสนา ปัญญาเลย. (2540). วิเคราะห์จริยธรรมในนิทานพื้นบ้านล้านนา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.

วิสิฎฐ์ คิดคำส่วน. (2551). แนวคิดเรื่องมนุษย์ในคัมภีร์ปฐมมูลมูลี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

ศิราพร ณ ถลาง. (2562). ขอบเขตของการศึกษาคติชนคดีว่าข้อมูลทางคติชนวิทยา. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2562, จากhttps://www.facebook.com/search/top/?q=siraporn%20nathalang&epa.

สมพงษ์ จิตอารีย์. (2545). การศึกษาบทสู่ขวัญและพิธีสู่ขวัญของชาวไทลื้อ อำเภอปัว จังหวัดน่าน. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

สมพงษ์ เมทา. (2556). การศึกษาคติธรรมทางพระพุทธศาสนาจากตำนานเมืองโบราณเวียงกาหลง ตำบลเวียงกาหลง อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.

สมหวัง อินทร์ไชย. (2544). การศึกษาเปรียบเทียบปฐมสมโพธิภาษาบาลีฉบับล้านนา กับฉบับภาคกลาง. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

สุกัญญา เชาว์น้ำทิพย์. (2549). อัตลักษณ์ของชาวล้านนาที่ปรากฏในนวนิยายของมาลา คำจันทร์. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

สุภณิดา เชื้ออินต๊ะ. (2544). การศึกษาเชิงวิเคราะห์บทบาทของพระอินทร์ในปัญญาสชาดกฉบับล้านนา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

สุภาพร คงศิริรัตน์. (2542). การวิเคราะห์วรรณกรรมคำสอนท้องถิ่นภาคเหนือตอนล่างจากเอกสารโบราณ. รายงานผลการวิจัย. พิษณุโลก : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

หทัยวรรณ ไชยะกุล. (2549). การศึกษาวิเคราะห์สุนทรียภาพในวรรณกรรมประเภทโคลงของล้านนา. รายงานผลการวิจัย. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

หทัยวรรณ ไชยะกุล. (2556). วรรณกรรมล้านนาร่วมสมัย (พ.ศ.2413-2550) : การสืบทอดภูมิปัญญาและการสร้างสรรค์. รายงานผลการวิจัย. เชียงใหม่: โรงพิมพ์นพบุรีการพิมพ์.

อัมพร ชัยวาปิน. (2546). พฤติกรรมการสื่อสารของตัวละครในสุธนชาดกฉบับล้านนา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

อิสริยาภรณ์ แสงปัญญา. (2549). สุภาษิตไทลื้อ : การศึกษาเชิงวิเคราะห์. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.