สป หรือ (อ่านบทวิจารณ์ความเป็นสหบทที่ยังเยาว์ของสุริยันติ์ ปานเล่ห์)

Main Article Content

ก่อพงศ์ วิชญาปกรณ์

บทคัดย่อ

           บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออ่านบทความ “I am Precious/I Am Girl/I Am Black: Intertextuality in African American Children’s and Young Adult Literature” (2015) ของสุริยันติ์ ปานเล่ห์ แม้ว่าบทความของสุริยันติ์ จะให้ความสำคัญกับเรื่องของผู้อ่านวรรณกรรมเด็กและเยาวชน ความเป็น ‘สหบท’ ที่พบได้ในวรรณกรรม   แอฟริกัน-อเมริกัน และหน้าที่ของผู้เขียนเป็นหลัก แต่ทว่ากระบวนการอ่านที่เกิดขึ้นในบทความของสุริยันติ์ ทำให้เห็นว่าการอ่านและความเป็นสหบทไม่จำเป็นต้องเป็นอย่างที่สุริยันติ์นำเสนอ ข้อเสนอของสุริยันติ์ยังเต็มไปด้วย          ความย้อนแย้งและความลักลั่นในมโนทัศน์ที่นำเสนออยู่ สหบทไม่ได้เป็นสิ่งที่มองเห็นหรือจับต้องได้อย่างที่สุริยันติ์นำเสนอ เพราะสหบทนั้นจะมีอยู่ได้ต่อเมื่อไม่มีอยู่ สหบทมีความเป็นอิสระจากการตั้งชื่อและเรียกขานที่กำหนด       โดยผู้เขียน สหบทลบตัวเองออกเสมอ เหลือไว้เพียงแค่ร่องรอยของการมีอยู่ เพราะนี่คือข้อจำกัดของการมีอยู่ของสหบท ความตั้งใจของผู้เขียน (ไม่ว่าจะเป็นเพื่อเขียนล้อหรือยกย่อง) จึงเป็นการทำให้สหบทไม่เป็นสหบท แต่ก็เป็นสหบทในเวลาเดียวกันเนื่องจากสหบทเกิดขึ้นระหว่างการอ้างอิงเสมอ นอกจากนี้การแบ่งผู้อ่านออกเป็น  2 กลุ่มระหว่างผู้ใหญ่และเยาวชนของสุริยันติ์ยังมีปัญหาอยู่ในตัว เนื่องจากสิ่งที่สุริยันติ์พูดถึงไม่ใช่การอ่าน การอ่านไม่จำแนกระดับขั้น ความไม่เข้าใจในการอ่าน คือส่วนหนึ่งของการอ่าน ไม่ใช่สิ่งที่ทำให้การอ่านของผู้อ่านอีกคน “มีประสิทธิภาพ” กว่าอีกคน การอ่านผิด คือการอ่านที่ถูกต้อง ไม่มีการอ่านอื่น นอกจากการอ่านผิดที่เป็นอื่น ไปจากเดิม แม้ว่าข้อเสนอของสุริยันติ์ว่าด้วยผู้เขียนควรจะสร้างความสมดุลยากง่ายให้เหมาะสมสำหรับผู้อ่านเยาวชนและผู้ใหญ่เพื่อสร้างพื้นที่การอ่านให้กับเยาวชน แต่ทว่าข้อเสนอดังกล่าวนั้นกลับย้ำความคิดเรื่องอาวุโสที่ไม่มีในการอ่านและไม่ควรจะมีอยู่ในพื้นที่ของการเขียน

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิจัย / บทความวิชาการ
Author Biography

ก่อพงศ์ วิชญาปกรณ์, อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ ภาควิชาประวัติศาสตร์ ปรัชญา ภาษาและ วรรณคดีอังกฤษ คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

อาจารย์ก่อพงศ์  วิชญาปกรณ์

ศศ.ม. (ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ ภาควิชาประวัติศาสตร์ ปรัชญา ภาษาและ

วรรณคดีอังกฤษ คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

E-Mail:  [email protected]

References

Barthes, R. (1975). The Pleasure of the Text (1st American ed.). New York: Hill and Wang.

Barthes, R. (1977). The Death of the Author (S. Heath, Trans.). In S. Heath (Ed.), Image, Music, Text (pp. 142-148). London: Fontana.

Barthes, R. (1977). From Work to Text (S. Heath, Trans.). In S. Heath (Ed.), Image, Music, Text (pp. 155-164). London: Fontana.

Barthes, R. (1978). A lover's discourse : fragments (Paperback edition. ed.). New York: Hill and Wang.

Barthes, R. (1981). Camera Lucida: reflection on photography (R. Howard, Trans.). London: Vintage.

Barthes, R. (2013). Mythologies: the complete edition, in new translation. New York: Hill and Wang.

Bianchi, P. (2017). Jacques Lacan and Cinema: Imaginary, Gaze, Formalisation. London: Karnac.

Derrida, J. (1976). Of grammatology (1st American ed.). Baltimore: Johns Hopkins University Press.

Derrida, J. (1982). Différance. In A. Bass (Ed.), Margins of philosophy (pp. 1-27). Brighton: Harvester Press.

Derrida, J. (1988). Limited Inc. Evanston, IL (n.p.): Northwestern University Press.

Derrida, J. (Writer) & S. Fathy (Director). (1999). D'ailleurs Derrida (n.p.): Gloria Films.

Derrida, J., Bass, A., & Ronse, H. (1981). Positions. Chicago: University of Chicago Press.

Evink, E. (2012). Polysemy and Dissemination. Journal of the British Society for Phenomenology, 43(3), 264-284.

Hamilton, E. (2011). Mythology : timeless tales of gods and heroes (Oversized ed.). New York, NY: Grand Central Pub.

Iser, W. (1980). The Reading Process: a phenomenological approach. In J. P. Tompkins (Ed.), Reader-Response Criticism : from formalism to post-structuralism (pp. 50 - 69). Baltimore ; London: Johns Hopkins University Press.

Kiarostami, A. (Writer). (2010). Copie Conforme (n.p.): MK2 Diffusion.

Lacan, J. (1981). The Four Fundamental Concepts of Psychoanalysis, book XI (A. Sheridan, Trans. J.-A. Miller Ed.). New York: W.W. Norton & Company.

Lacan, J., & Fink, B. (2006). Ecrits : The first complete edition in English. New York: W.W. Norton & Co.

Panlay, S. (2015). I am Precious/I am Girl/I am Black: Intertextuality in African American Children's and Young Adult Literature. Journal of Liberal Arts, 15(January - June 2015), pp. 18 - 30.

Press, T. (2010, January 1). HORS-TEXTE. Retrieved July 5, 2017, from http://parasiticventurespress.com/books/?p=339

Wood, M. (2016). We do it all the time. London Review of Books, 38(3), 7-9. Retrieved July 14, 2017, from London Review of Books website: https://www.lrb.co.uk/v38/n03/michael-wood/we-do-it-all-the-time

Woolf, V., Woolf, V. M. D., Woolf, V. T. t. l., Woolf, V. W., & McNichol, S. (1992). Collected novels of Virginia Woolf (Mrs. Dalloway, To the lighthouse, The waves). London: MacMillan.

Zizek, S. (Writer) & B. Wright (Director). (2004). The Reality of the Virtual (n.p.).