การจัดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดเพชรบุรี

Main Article Content

สุภาวิณี โบว์สุวรรณ
ภคมน โภคะธีรกุล
วรสิทธิ์ เจริญพุฒ
เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

บทคัดย่อ

การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมมีความสำคัญ เนื่องจากเปิดโอกาศให้นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ได้เรียนรู้และทำความเข้าใจถึงเรื่องราวทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมอย่างแท้จริงผ่านงานสถาปัตยกรรม ขนมธรรมเนียมประเพณี การบันทึกเรื่องราวในแต่ละยุคสมัยและวิถีชีวิตของคนในแหล่งท่องเที่ยวนั้น ส่งผลให้นักท่องเที่ยวตระหนักถึงคุณค่าเกิดคุณค่าความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเองและสร้างรายได้ให้กับประชาชนและจังหวัด เพชรบุรีเป็นจังหวัดภาคกลางตอนล่างที่มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่ดึงดูดใจนักท่องเที่ยวแต่การจัดการการท่องเที่ยวจะต้องปรับปรุงและพัฒนา สาระสำคัญในการจัดการด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน สถานพยาบาลที่น่าเชื่อถือและเพียงพอ ด้านการคมนาคม เพิ่มสัญญานจราจรเพื่อลดอุบัติเหตุ ด้านโรงแรมและที่พัก ควรกระจายตัวในทุกอำเภอ
การ ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว จัดทำแนะนำคู่มือร้านอาหารพัฒนาการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการการท่องเที่ยว

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กาญจนา แสงลิ้มสุวรรณ และ ศรันยา แสงลิ้มสุวรรณ. (2555). การท่องเที่ยวเชิงมรดกวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน. วารสารนักบริหาร, 32(4), 139-146.

ขวัญชนก ทองล้วน. (2558). ปูนปั้นรามเกียรติ์บนถนนราชดำเนิน จังหวัดเพชรบุรี: พลวัตของการใช้รามเกียรติ์ในศิลปะไทยร่วมสมัย (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต).จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จิตตรา มาคะผล และคณะ. (2563). การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้งานศิลปกรรมปูนปั้นเมืองเพชร. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 12(1), 17-28.

ณปภา หอมหวล และชนานุช เงินทอง. (2562). การศึกษาแนวทางการอนุรักษ์ขนมหวานพื้นเมืองให้เป็นแหล่งเรียนรู้และส่งเสริมเส้นทางการท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 14(3),32-41.

ดวงกมล บุญแก้วสุข. (2559). ศิลปะสกุลช่างเพชรบุรี: จากอดีตถึงปัจจุบัน (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ธนณัฏฐ์ โชคปรีดาพานิช. (2562). ขีดความสามารถการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในชุมชนชาติพันธุ์ไทยทรงดำเขาย้อย เพชรบุรี. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 13(2), 101-114.

พระมหาสมนึก จันทร์ทอง. (2551). ศิลปะปูนปั้น เมืองเพชรบุรี และสร้างคุณค่าและวัฒนธรรมา (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักงานการพัฒนาการท่องเที่ยว. (2550). การประเมินมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม. สืบค้น เมื่อ 24 มีนาคม 2564, จาก http://www.tourism.go.th/2010/th/home/index.php

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2549). การมีส่วนร่วมของประชาชน. สืบค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2564, จาก https://recc.erc.or.th/index.php/2015-07-07-07-53-46/464-2010-02-01-08-32-52

Aree Naipinit & Thirachaya Maneenet. (2008). People Participation in Village-Based Tourism, Bu Sai Home Stay, Wang Nam Kiao District, Nakhon Ratchasima Province (Master’s Thesis, Faculty of Management Science). Khon Kaen University.

Cooper, C., Fletcher, J., Fyall,A., Gilbert,D.& Wanhill, S. (2008). Tourism Principles and Practice. (4th ed.). Harlow, UK: FT Prentice-Hall.

Goeldner, C. R.,&Ritchie, J. R. B. (2009). Tourism: Principles, Practices and Philosophies. NY: John Wiley and Sons.

Melanie K. Smith. (2003). Issues in Cultural Tourism Studies. London: Routledge.

Nipaporn Nooaksorn. (2005). Opinions of Thai Tourists for Visiting Phuket Province (Master’s Thesis). Srinakharinwirot University.

Siriwan Sereerat. (2003). Modern Business Management. Bangkok: D.K. Today.

Swarbrooke, J. (1999). Sustainable Tourism Management. London: CABI.

Theobald, W. F. (1994.). Global tourism: The next decade. Oxford: Butterworth-Heinemann.

vanovic, M. (2008). Cultural tourism. Cape Town, South Africa: Juta& Company.

Ximba, E. Z. (2009). Cultural and heritage tourism development and promotion in theNdwedwe municipal area: perceived policy and practice (Masters of Recreation and Tourism). University of Zululand, University of Zululand.