ปัจจัยเชิงสาเหตุทางการตลาดเชิงสัมพันธภาพที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงาน ของธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์

Main Article Content

ศิริพร อินโห้

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยทางการตลาดเชิงสัมพันธภาพที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ 2) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของปัจจัยเชิงสาเหตุทางการตลาดเชิงสัมพันธภาพที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ และ
3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุทางการตลาดเชิงสัมพันธภาพที่มีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหาร ผู้จัดการแผนก หัวหน้าฝ่ายและผู้ที่เกี่ยวข้องของธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ในภาคเหนือ จำนวน 400 ตัวอย่าง โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม โดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า


  1. ปัจจัยเชิงสาเหตุทางการตลาดเชิงสัมพันธภาพ มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อปัจจัยด้านคุณภาพความสัมพันธ์และด้านระบบการจัดการ

  2. ปัจจัยด้านคุณภาพความสัมพันธ์มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อคุณภาพการบริการ

  3. ปัจจัยด้านระบบการจัดการ มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อคุณภาพการบริการ

  4. คุณภาพการบริการ มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อผลการดำเนินงาน ซึ่งปัจจัยเชิงสาเหตุทางการตลาดเชิงสัมพันธภาพมีอิทธิพลทางอ้อมเชิงบวกต่อคุณภาพการบริการ โดยผ่านปัจจัยด้านคุณภาพความสัมพันธ์ ปัจจัยด้านคุณภาพความสัมพันธ์ ปัจจัยด้านระบบการจัดการและคุณภาพการบริการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมการขนส่งทางบก. (2563). จำนวนรถจดทะเบียน (สะสม) ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ จำแนกตามยี่ห้อ (รายจังหวัด) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563. สืบค้นเมื่อ 11 มกราคม 2564, จาก https://web.dlt.go.th/statistics/

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2563). ธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ในไทย. สืบค้นเมื่อ 4 ธันวาคม 2563, จาก https://www.dbd.go.th/

กัลยา วานิชย์ปัญชา. (2560). การวิเคราะห์สถิติชั้นสูงด้วย SPSS for Windows. พิมพ์ครั้งที่ 29. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สามลดา.

ฉัฐชสรณ์ กาญจนศิลานนท์. (2560). ความพึงพอใจลูกค้าและการตลาดเชิงสัมพันธภาพในธุรกิจโรงแรม. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี,11(ฉบับพิเศษ), 305-320.

ชานัตตา วงศ์ศิริ. (2564). ผลกระทบของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ร่วมสมัยที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานทางการตลาดของธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ตรียาพร ตุ่มศรียา. (2563).ตัวชี้วัดเพื่อกำหนดมาตรฐานการตลาดความสัมพันธ์ขององค์กรธุรกิจ เพื่อก้าวสู่ไทยแลนด์ 4.0 (ดุษฎีนิพนธ์บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสยาม.

นันทัช จิระวุฒินันท์. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตลักษณ์ตราสินค้ากับผลการดำเนินงานทางการตลาดของธุรกิจเครื่องดื่มในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พลอยนรินทร์ คำภาพันธ์. (2555). ผลกระทบของการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ที่มีต่อผลการ ดำเนินงานทางการตลาดของธุรกิจเครื่องสำอางในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พีรธณัฏฐ์ อุดมผล. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การส่งเสริมการขายกับผลการดำเนินงานทางการตลาดของธุรกิจตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วรรณา ยงพิศาลภพ. (2563). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2563-65: อุตสาหกรรมรถยนต์. สืบค้น

เมื่อ 3 มกราคม 2564, จาก https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/Hi-tech-Industries/Automobiles/IO/io-automobile-20

วัชรากร ชำนาญผล. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถทางการตลาดสมัยใหม่กับผลการดำเนินงานทางการตลาดของธุรกิจเครื่องดื่มในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุวกิติ อรพันธุ์. (2555). ผลกระทบของความยืดหยุ่นทางการตลาดที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจ ตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

อริยาภรณ์ คำมะยอม. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผลการสื่อสารการตลาดสมัยใหม่กับผล

การดำเนินงานทางการตลาดของธุรกิจ SMEs ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (วิทยานิพนธ์

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Alrubaiee, L., & Alnazer, N. (2010). Investigate the impact of relationship marketing orientation on customer loyalty: The customer’s perspective. International Journal of Marketing Studies, 2(1), 155-174.

Attharangsun, N., & Ussahawanitchakit, P. (2008). The antecedents and consequences of CRM

effectiveness in heath service industry of Thailand. Review of Business Research, 8(4),1-15.

Chang, H.H. (2007). Critical factors and benefits in the implementation of customer Relationship management. Total Quality Management & Business Excellence, 18(5), 483-508

Coulter, K., & Coulter, R. A. (2002). Determinants of trust in a service provider: The moderating role of length of relationship. Journal of Services Marketing, 16(1), 35-50.

Cronbach, L.J. (1990). Essentials of psychological testing. (5th ed.). New York: Harper & Row.

Gronroos, C. (1990). Service Management and Marketing: A Customer Relationship Management Approach. New York: Wiley & Sons, Inc.

Hutt, M. D., and Speh, T. W. (2013). Business Marketing Management: B2B. 2nded. USA: Sout-Western Cengage Learnin.

Krungthai compass. (2020). ใครๆ ก็ New Normal: เจาะกลยุทธ์ตัวแทนจำหน่ายรถหลังโควิด. สืบค้นเมื่อ 4 ธันวาคม2563 , จาก https://krungthai.com/Download/economyresources/EconomyResources Download_449New_Normal_-_เจาะกลยุทธ์ตัวแทนจำหน่ายรถหลังโควิด_31_07_63.pdf

Morgan, N. A. (2012). Marketing and business performance. Journal of the Academy of Marketing Science, 40(1), 102–119.

Richey, R. G., Musgrove, C. F., Gillison, S. T., and Gabler, C. B. (2014). The effects of environmental focus and program timing on green marketing performance and the moderating role of resource commitment. Industrial Marketing Management, 43(7), 1246–1257.