แนวทางพัฒนาการบริหารงานการให้บริการช่วยเหลือเด็กพิการตามแนวคิดการเตรียมความพร้อมในการเปลี่ยนผ่านสู่ระบบโรงเรียนเรียนร่วม

Main Article Content

มนัชญา แก้วอินทรชัย
สุกัญญา แช่มช้อย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารงานการให้บริการช่วยเหลือเด็กพิการ ตามแนวคิดการเตรียมความพร้อมในการเปลี่ยนผ่านสู่ระบบโรงเรียนเรียนร่วม และ 2) เพื่อนำเสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารงานการให้บริการช่วยเหลือเด็กพิการตามแนวคิดการเตรียมความพร้อมในการเปลี่ยนผ่านสู่ระบบโรงเรียนเรียนร่วม รูปแบบการวิจัยเป็นแบบผสมวิธี  ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ ศูนย์การศึกษาพิเศษ จำนวน 77 ศูนย์สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ เป็นผู้บริหาร  จำนวน 54 คน และข้าราชการครู จำนวน 278 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันอยู่ระดับมาก และสภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมาก-มากที่สุด 2) ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารงานการให้บริการช่วยเหลือกเด็กพิการตามแนวความคิดการเปลี่ยนผ่านสู่ระบบโรงเรียนเรียนร่วม คือ (1) การคัดกรองโดยการสังเกต การทดสอบ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริง (2) การประเมินความสามารถพื้นฐานทางกายภาพ ใช้ในการจัดทำแผนการจัดการศึกษา IIP (3) การจัดทำแผนให้สอดคล้องกับการพัฒนาการเรียนรู้ (4) เรียนรู้ตามแผน IEP ตามที่ได้จัดทำ IEP ตามความต้องการจำเป็นของแต่ละบุคคล (5) การเรียนรู้ต่าง ๆ โดยคำนึงอายุจริงของผู้เรียนในสถานการณ์ต่าง ๆ (6) ครูควรมีการนิเทศติดตามประเมินผลจากนักวิชาการหัวหน้าฝ่ายบริหารหรืออื่น ๆ เพื่อส่งต่อเด็กไปโรงเรียน 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ณัชพร ศุภสมุทร์ และคณะ. (2557). คู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยใช้โครงสร้างซีทสำหรับเด็ก ที่มีความต้องการพิเศษ เรียนร่วมในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: กลุ่มงานการศึกษาพิเศษ สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต.

พรพรรณ์ สมบูรณ์. (2552). รูปแบบการบริหารการเปลี่ยนผ่านจากโรงเรียนเรียนร่วมสู่การทำงานของนักเรียนพิการระดับมัธยมศึกษา (ดุษฎีนิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พวงมณี ชัยเสรี. (2558).รูปแบบการให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มแก่เด็กพิการ อายุระหว่าง 0-5 ปี.กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

มลิวัลย์ ธรรมแสง. (2547). ชุดปรับพื้นฐานช่วงเปลี่ยนผ่านระดับหรือสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: มูลนิธิอนุเคราะห์คนหูหนวก ในพระบรมราชินูปถัมภ์.

ละออ ชุติกร. (2530). การเตรียมความพร้อมสำหรับเด็กพิเศษ. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ วิทยาลัยครูสวนดุสิต.

ศรียา-ประภัสสร นิยมธรรม. (2520). การสอนเพื่อบรรดิการ. กรุงเทพฯ: อักษรบัณฑิต.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2555). นโยบายการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551).พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2555). แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาต้นแบบการเรียนรวม. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน.

สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2555ข). แนวโน้มการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการในต่างประเทศ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558).คู่มือหลักสูตรสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษระยะแรกเริ่มศูนย์การศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550ค). รายงานการวิจัยการประเมินผลการดำเนินการจัดการศึกษาพิเศษของโรงเรียนการศึกษาพิเศษ สำนักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนที่จัดการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กพิการ. ในคราวประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมครูผู้ช่วย.

Almalky, H. A., & Alqahtani, S. S. (2021). Special education teachers’ reflections on school transition practices that support partnerships with businesses to prepare students with disabilities for employment in Saudi Arabia. Children and Youth Services Review, 120, 105813. https://doi.org/10.1016/j.childyouth.2020.105813

Downing, J and Thackrey, D. (1971). Reading Readiness. New York: London, University of London Press.

Hall, J. P., Ipsen, C., Kurth, N. K., McCormick, S., & Chambless, C. (2020). How family crises may limit engagement of youth with disabilities in services to support successful transitions to postsecondary education and employment. Children and Youth Services Review, 118, 105339. https://doi.org/10.1016/j.childyouth.2020.105339

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determination sample size for research activities. Education and Psychology Measurement, 30(3), pp. 607-610.

Koontz, H. and Weihrich, H. (2010) Essentials of Management: An International. New Delhi: McGraw Hill.

Mamas, C., Bjorklund, P., Daly, A. J., & Moukarzel, S. (2020). Friendship and support networks among students with disabilities in middle school. International Journal of Educational Research, 103, 101608. https://doi.org/10.1016/j.ijer.2020.101608

Olivier-Pijpers, V. C., Cramm, J. M., & Nieboer, A. P. (2020). Cross-sectional investigation of relationships between the organisational environment and challenging behaviours in support services for residents with intellectual disabilities. Heliyon, 6(8), e04751.https://doi.org/ 10.1016/j.heliyon.2020.e04751

Perri, M., McColl, M. A., Khan, A., & Jetha, A. (2021). Scanning and synthesizing Canadian policies that address the school-to-work transition of youth and young adults with disabilities. Disability and Health Journal, 14(4),101122. https://doi.org/10.1016/j.dhjo.2021.101122

Rosenkoetter & Sharon. (1997). Bridging Early Services Transition Project (Outreach) (Full Report). Washington, D.C.: Distributed by ERIC Clearinghouse.

Ross, T., Bilas, P., Buliung, R., & El-Geneidy, A. (2020). A scoping review of accessible student transport services for children with disabilities. Transport Policy, 95, 57-67.

Spencer, S. A., Riley, A. C., & Young, S. R. (2021). Experiential education accommodations for students with disabilities in United States pharmacy schools: An exploratory study. Currents in Pharmacy Teaching and Learning, 13(6), 594-598.