ไตรสิกขากับการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
คำสำคัญ:
การจัดการเรียนการสอน, ไตรสิกขา, ยุคดิจิทัล, การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้บทคัดย่อ
การประยุกต์ใช้หลักไตรสิกขาเพื่อจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล มีประสิทธิภาพมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนทั้งทางวิชาการและคุณธรรม โดยผู้สอนที่กระตือรือร้นและสามารถปรับตัวให้ทันกับความรู้ใหม่ ๆ จะสามารถให้คำปรึกษาและควบคุมชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและกิจกรรมต่าง ๆ ในการสอน จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและมีความหมาย การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนเกิดขึ้นจากการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพและเป็นตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการสอนที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่จำเป็นในการใช้ชีวิตและการทำงานในยุคดิจิทัล
หลักไตรสิกขาในพระพุทธศาสนา ได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา หมายถึง หลักการหรือข้อที่จะต้องศึกษา 3 อย่าง หรือข้อปฏิบัติที่เป็นหลักศึกษา คือ ฝึกหัดอบรมกาย วาจา จิตใจและปัญญา ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น มีบทบาทสำคัญในการฝึกฝนและพัฒนาคุณธรรมและปัญญาของผู้ที่นำไปปรับประยุกต์ใช้ การนำหลักไตรสิกขามาปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนจะช่วยปลูกฝังคุณธรรมและสติปัญญาแก่ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการวางรากฐานที่มั่นคงต่อการดำเนินชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพและมีจิตสำนึกที่ดีต่อสังคมในอนาคตอีกด้วย
References
กิติมา ปรีดีดิลก. (2532). การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : อักษรพิพัฒน์.
ชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนิน. (2560). ห้องเรียนกลับด้าน : ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. 6(2),(ฉบับพิเศษ), 171-182.
ทิศนา แขมมณี. (2545). รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์.
ประสิทธิ์ องอาจตระกูล. (2559). การเรียนรู้ในโลกยุค Digital. สืบค้น 25 กันยายน 2567, จาก https://url.in.th/mSSft
พงษ์พัชรินทร์ พุธวัฒนะ. (2564). การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในยุคดิจิทัล. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี, 1(2), 1-11.
พระเทพญาณมงคล และคณะ. (2558). คู่มือการศึกษาสัมมาปฏิบัติไตรสิกขา. นครปฐม : เพชรเกษม พริ้นติ้งกรุ๊ป.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จันทร์เพ็ญ.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิธีการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี–สฤษดิ์วงศ์.
วิชัย วงศ์ใหญ่ และ มารุต พัฒผล. (2563). การออกแบบการเรียนรู้ใน New Normal. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วันเพ็ญ พุทธานนท์. (2563). New Normal การศึกษาไทยกับ 4 รูปแบบใหม่การเรียนรู้. สืบค้น 25 กันยายน 2567, จาก https://www.thebangkokinsight.com/367124/
สุคนธ์ ภูริเวทย์. (2544). การออกแบบการสอน Instructional design. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2563). แนวทางการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เหมาะสมกับผู้เรียนในวัยเรียน. นนทบุรี : บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จำกัด.
Thompson, J. (2016). 6 Blended Learning Models: When Blended Learning Is What’s Up for Successful Students. Retrieved September 23, 2019, from https://elearningindustry.com/6-blended-learning-models-blended-learning-successful-students
OKMD. (2563). การเรียนรู้ในยุคดิจิทัล. สืบค้น 25 กันยายน 2567, จาก https://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/life-long-learning/3678/
“_______”. (2563). การเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (2) : เทคโนโลยีกับการเรียนรู้. สืบค้น 25 กันยายน 2567, จาก https://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/life-long-learning/3686/
Utecht, J. & Keller, D. (2019). Becoming Relevant Again: Applying Connectivism Learning Theory to Today's Classrooms. Critical Questions in Education. 10(2), 107-119.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2024 วารสารจิตวิทยาพุทธศาสตร์ประยุกต์เพื่อสังคม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.