พุทธจิตวิทยา : ความพอประมาณในการกินอาหารเพื่อลดภาวะโลกร้อน

ผู้แต่ง

  • กฤศ แก้วสนั่น นักวิชาการอิสระ ที่อยู่ เลขที่ 94 ถนนยะรัง ตำบลจะบังติกอ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

คำสำคัญ:

พุทธจิตวิทยา, การกิน, โภชเนมัตตัญญุตา, ภาวะโลกร้อน, การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

บทคัดย่อ

            ภาวะโลกร้อน (Global warming) และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change) ก่อให้เกิดภัยพิบัติบ่อยขึ้นและมีความรุนแรงมากขึ้น อาทิ น้ำแข็งขั้วโลกละลาย ความแปรปรวนของทะเลและมหาสมุทร ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น น้ำท่วม พายุ ไฟป่า ความแห้งแล้ง คลื่นความร้อน ภูเขาไฟระเบิด สึนามิ ส่งผลให้กลายเป็นปัญหาร้ายแรงที่มีผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อทุกชีวิตบนโลก สร้างความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินเกินจะประมาณในปัจจุบันและส่งผลต่อเนื่องในอนาคต ในขณะที่ประชากรโลกเพิ่มมากขึ้น ภัยพิบัติต่าง ๆ จากภาวะโลกร้อนกลายเป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงของวงจรอาหารของมนุษย์ เพื่อช่วยในการลดภาวะโลกร้อน การคิดเป็นและริเริ่มในการปรับจิตสำนึกและพฤติกรรมการกินของตนเองด้วยหลักโภชเนมัตตัญญุตา (moderation in eating) ในด้านการประมาณการกินเพื่อช่วยลดภาวะโลกร้อนและชะลอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้ด้วยการพิจารณาการกินอาหารแต่ละมื้อให้มีปริมาณพอเหมาะเพื่อหล่อเลี้ยงร่างกายตามความจำเป็น เพื่อร่างกายสามารถทำกิจกรรมให้ชีวิตมีความปกติสุข มิใช่การกินเพื่อความสนุกสนาน กินอาหารราคาสูงเพื่ออวดแสดงฐานะหรือหลงยึดในการบริโภคตามความนิยม เพราะกินในลักษณะดังกล่าวเป็นการใช้พลังงานด้านการขนส่งอาหารอย่างสิ้นเปลือง ทำให้สูญเสียอาหาร เพิ่มขยะอาหาร รวมถึงสร้างขยะจากการทิ้งบรรจุภัณฑ์  

References

กรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ. (2565). “ขยะอาหาร” (FOOD WASTE) ปัญหาที่ท้าทายมวลมนุษยชาติ. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2566, จาก https://www.prd.go.th/th/content/category/detail/id/1487/iid/87343

กล้า ตั้งสุวรรณ. (2566). 3 เทรนด์พฤติกรรมการบริโภคอาหารครึ่งปีแรก 2566 ที่แบรนด์ควรรู้. สืบค้น 15 ตุลาคม 2566, จาก https://adaddictth.com/exclusive/consumer-insight-food-beverage-first-2023

คัดคณัฐ ชื่นวงศ์อรุณ และ ณภัทรดนัย. (2565). ขยะอาหาร (Food Waste) และการสูญเสียอาหาร (Food Loss). สืบค้น 15 ตุลาคม 2566, จาก https://ngthai.com/science/40756/food-waste-food-loss/

ผู้จัดการออนไลน์. (2566). น่าห่วง! ปริมาณขยะอาหารไทยพุ่ง จากการขายเกิน - ซื้อเผื่อ คณะวิทย์ มธ.แนะ 4 แนวทางรับมือ. สืบค้น 15 ตุลาคม 2566, จาก https://mgronline.com/science/detail/9660000062262

พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2542). ธรรมกับไทย ในสถานการณ์ปัจจุบัน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

แพรวพรรณ ศิริเลิศ. (2565). สรุปประชุม COP27 อะไรคือประเด็นที่น่าจับตามอง เน้นย้ำความสูญเสียและเสียหายจากภาวะโลกร้อน. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2566, จาก https://www.sdgmove.com/2022/11/29/cop27-climate-change-conference-2022/

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฏกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (ออนไลน์). สืบค้น 2 ธันวาคม 2566, จาก https://www.geocities.ws/tmchote/tpd-mcu/tpd29.htm บริษัท สหธรรมิก จำกัด.

ศูนย์ภูมิอากาศ กรมอุตุนิยมวิทยา. (2558). การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2566, จาก http://climate.tmd.go.th/content/article/9

สหประชาชาติ ประเทศไทย. (2565). สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. สืบค้น 15 ตุลาคม 2566, จาก https://thailand.un.org/th/174652-สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

“________”. (2564). พุทธธรรมฉบับปรับขยาย (พิมพ์ครั้งที่ 56). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2538). พัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยจิตวิทยาแบบยั่งยืน. สืบค้น 17 พฤศจิกายน 2566, จาก https://www.watnyanaves.net/th/book-full-text/295

สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน). (2564). 4 วิธี กินลดโลกร้อน. สืบค้น 15 ตุลาคม 2566, จาก https://www.okmd.or.th/okmd-kratooktomkit/4574/

Damian Carrington. (2018). Beef-eating 'must fall drastically' as world population grows. Retrieved October 13, 2023, from https://www.theguardian.com/environment/2018/dec/05/beef-eating-must-fall-drastically-as-world-population-grows-report

Directorate-General for Environment. (2023). Field to fork: global food miles generate nearly 20% of all CO2 emissions from food. Retrieved October 15, 2023, from https://environment.ec.europa.eu/news/field-fork global-food-miles-generate-nearly-20-all-co2-emissions-food-2023-01-25_en

Soumita Basu. (2023). Food Psychology – Healthy Life. Retrieved November 28, 2023, from https://www.linkedin.com/pulse/food-psychology-healthy-life-soumita-basu

Yoswimol. (2023). รู้จัก Marketing Psychology จิตวิทยาการตลาด ที่โน้มน้าวใจผู้บริโภคง่ายๆ. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2566, จาก https://www.everydaymarketing.co/knowledge/get-to-know-marketing-psychology-that-persuades-consumers-easily/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-28

How to Cite

แก้วสนั่น ก. . (2023). พุทธจิตวิทยา : ความพอประมาณในการกินอาหารเพื่อลดภาวะโลกร้อน. วารสารจิตวิทยาพุทธศาสตร์ประยุกต์เพื่อสังคม, 9(2), 482–497. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/human/article/view/273485