อาจารย์พยาบาลกับพุทธวิธีส่งเสริมความเป็นผู้สอนที่พึงประสงค์
คำสำคัญ:
ผู้สอน, การพยาบาล, การสอบ, พุทธวิธี, ผู้สอนที่พึงประสงค์บทคัดย่อ
สถาบันการศึกษาพยาบาลที่จัดการการเรียนการสอนมีบุคลากรสายวิชาการเรียกว่า อาจารย์พยาบาล รับผิดชอบด้านการเรียนการสอน นิเทศและดูแลการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาพยาบาล ในด้านเรียนการสอนอาจารย์พยาบาลมีความรับผิดชอบในหน้าที่ได้รับมอบหมายด้านการเรียนการสอน ความเป็นอาจารย์ที่พึงประสงค์เป็นประเด็นสำคัญที่ผู้ทำหน้าที่ควรต้องรับทราบและปฏิบัติตามเพื่อให้ความเป็นครูได้รับความยกย่องนับถือตามบริบทสังคมไทยและเป็นตัวอย่างที่ดีของนักศึกษาพยาบาลผู้ที่จะไปประกอบวิชาชีพพยาบาลในอนาคต ทุกสถาบันการศึกษาพยาบาลทั่วประเทศไทยต่างนำเสนอกำหนดจรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล (Code of Nursing Ethics) สำหรับอาจารย์พยาบาลของสถาบันการศึกษาพยาบาลเพื่อให้อาจารย์พยาบาลเป็นผู้สอนที่พึงประสงค์ พระพุทธศาสนาให้ความสำคัญแก่ครูอาจารย์ในฐานะเป็นทิศเบื้องขวาหรือทักขิณทิศ คือเป็นผู้ที่ได้รับความเคารพในฐานะเป็นบุคคลที่สำคัญในการประสาทวิชาความรู้ อบรมสั่งสอน บทความนี้จะบรรยายถึงความเป็นครูที่พึงประสงค์ตามวิถีพุทธ 7 ประการหรือหลักกัลยาณมิตรธรรมซึ่งอาจารย์ผู้สอนพยาบาลสามารถนำไปปรับใช้ในบริบทของการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาพยาบาลได้
References
คณะกรรมการทบทวนเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยราชภัฎระดับคณะและสถาบัน มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม. (2565). กรุงเทพฯ:
เค.พี. จันทรเกษม.
นารีรัตน์ กว้างขวาง. (2561). การบริหารงานโรงเรียนโดยใช้หลักกัลยาณมิตรธรรม 7 ของโรงเรียนใน สังกัดสำนักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เนตดา วงศ์ทองมานะ. (2562). สื่อสังคมออนไลน์กับพยาบาลในยุคสังคมดิจิตอล. วารสารพยาบาลสภากาชาดไท, 12(1), 13-22.
บุญญาภา โพธิ์เกษม. (2015). อาจารย์พยาบาลกับความสุขในการทำงาน.วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 25(1), 13-24.
ประทีป พืชทองหลาง. (2561). รูปแบบการปรึกษาเชิงพุทธตามหลักกัลยาณมิตร. วารสารปรัชญาและศาสนา, 3(2), 75-99.
พระปิฏโกศล, พระมหาคำพันธุ์ รณญฺชโย และ ฌานวัฒน์ บุญพิทักษ. (2562). หลักกัลยาณมิตรธรรม 7 ในพระไตรปิฎกสำหรับครู. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6(9), 4200-4214.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2559). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 34). กรุงเทพฯ: มูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพ.
พระมหาจีระศักดิ์ จิรสกฺโก.( 2557). พุทธวิธีเสริมสร้างความเป็นครูที่พึงประสงค์ในสังคมไทย. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, 1(1), 120-133.
พระมหาทองพูน สติสมฺปนฺโน (เสือเขียว). (2547). การคบมิตรในพระพุทธศาสนา (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ภัณฑิรา ธิตะปัน, สุรศักดิ์ จันพลา และ พระครูปลัดบุญช่วย โชติวํโส. (2565). การบริหารตามหลักกัลยาณมิตรธรรม 7 ของผู้บริหารโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาจังหวัดขอนแก่น. Journal of Modern Learning Development, 7(3), 127-143.
มณีรัตน์ ภาคธูป, ทิพวัลย์ สุวรรณรักษ์ และ รัชนี บุญกล่ำ. (2562). การคงอยู่ในงานของอาจารย์พยาบาลในสถาบันการศึกษาเอกชน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 12(2), 97-110.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. (2555). คู่มือจรรยายรรณแห่งวิชาชีพข้าราชการ พนักงานราชการและพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
สมชาย เบ็ญจวรรณ์, ชลิศา รัตรสาร และอดิศักดิ์ ลำดวน. (2565). กัลยาณมิตรธรรม: หลักการสร้างสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอน. วารสารพิกุล, 20(1), 189-206.
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพฯ: สํานัก นายกรัฐมนตรี.
อะดิศักดิ์ สมบัติคำ. (2565). การบริหารงานตามหลักธรรมกัลยาณมิตรธรรม 7 ของนายกองค์การบริหารส่วนตำบลหนองเรือ ตำบลหนองเรือ อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร). มหาสารคาม. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อรัญญา เชาวลิต และ ทัศนีย์ นะแส.(2559). จริยธรรมในการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต. ว.พยาบาลสงขลานครินทร์, 36(3), 261-270.
Mushtaque, A. (2023). 20 Most Respected Professions in the World. Insided Money in Yahoo Finance. Retrieved August 17,2023, from https://shorturl.asia/lJzgW
Marugroup.net. (2023). America’s Most Respected Occupations 2021. Retrieved August 17, 2023, from https://www.marugroup.net/public-opinion-polls/us/americas-most-respected-occupations-2021
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2023 วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.