มิติรูปแบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในยุควิถีชีวิตใหม่

ผู้แต่ง

  • ธนาภัสสร์ สนธิรักษ์ สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
  • รังสรรค์ หล้าคำจา สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
  • วิมลพร ระเวงวัลย์ สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
  • วันวิสาข์ พูลทอง สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครูศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
  • เวนุกา ตาลาน สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครูศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

คำสำคัญ:

รูปแบบ, การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ, ยุควิถีชีวิตใหม่

บทคัดย่อ

          บทความวิชาการนี้นำเสนอเกี่ยวกับผลกระทบของการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ได้กระจายไปทั่วโลก โดยอัตราการระบาดส่งผลกระทบในการดํารงชีวิตของคนไทย รวมถึง ระบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ก็เข้ามามีบทบาทสําคัญในยุคนี้ จึงทำให้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในวิถีชีวิตใหม่ภายใต้มาตรการป้องกันของศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 (ศบค.) กระทรวงศึกษาธิการได้แนะนำให้ดำเนินการจัดการเรียนการสอน 5 รูปแบบ ได้แก่ On-site, On-air, On-demand, On-line และ On-hand สำหรับทุกรายวิชาในสถานศึกษาทั้งหมด ทั้งนี้ ให้สถานศึกษาพิจารณารูปแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสม โดยยึดหลักความปลอดภัยของผู้เรียน ผู้สอนและผู้ปกครองเป็นสำคัญ และการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 ส่งผลให้ภาคการศึกษาเกิดการหยุดชะงัก ผู้เรียนและผู้สอนต้องปรับตัวกับรูปแบบการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไปในสถานศึกษาของตน สถานศึกษาทุกแห่งถูกคาดหวังให้สามารถบริหารจัดการเรียนการสอนในวิถีชีวิตใหม่ได้อย่างเหมาะสม

 

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). แบบฝึกประกอบการสอนตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

กาญจนาพร รุจิโฉม. (2561). การสื่อสารภาษาอังกฤษของคนไทยกับการดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ 21. วารสารศิลปการจัดการ, 2(3), 199-210.

ธิษณา ศรัทธารัตน์ธนา. (2564). การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในวิถีชีวิตใหม่ในบริบทการศึกษาของประเทศไทย. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 20(3), 1-15.

เบญจวรรณ พงศ์มัฆวาน. (2544). การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดเจ็ดยอด อําเภอเมืองเชียงใหม่ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่.

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2557). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2567. สืบค้น 22 มิถุนายน 2567, จาก http://www.newonetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/Login.aspx

สมยศ เม่นแย้ม. (2542). คู่มือครู ครูไทยสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย.

สลิสา ยุกตะนันทน์. (2560). ชาวไทยทักษะภาษาอังกฤษแย่ อันดับ 53 จาก 80 ประเทศ. สืบค้น 3 ตุลาคม 2561, จาก https://www.voicetv.co.th/read/538570

สิริกาณณ์ ทองมาก. (2564). การพัฒนารูปแบบการสอนภาษาอังกฤษในยุคความปกติใหม่. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 5(2), 182-207.

Krashen, S.D. (1995). The Natural Approach Language Acquisition in the classroom. London: Prentice Hall Europe.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-07-08

How to Cite

สนธิรักษ์ ธ., หล้าคำจา ร., ระเวงวัลย์ ว., พูลทอง ว., & ตาลาน เ. (2022). มิติรูปแบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในยุควิถีชีวิตใหม่. วารสารจิตวิทยาพุทธศาสตร์ประยุกต์เพื่อสังคม, 8(1), 413–432. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/human/article/view/260973