ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการสื่อสารในองค์การ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชลบุรี เขต 2
คำสำคัญ:
คำสำคัญ การบริหารการเปลี่ยนแปลง, การสื่อสาร, ในองค์การบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการสื่อสารในองค์การ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 2 ใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านโครงสร้าง ด้านเทคโนโลยี ด้านคน และด้านวัฒนธรรม กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้แก่ บุคลากรในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 2 จำนวน 570 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยอัตราส่วนร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis)
ผลการวิจัย พบว่า (1) การบริหารการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (2) การสื่อสารในองค์การสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3) การบริหารการเปลี่ยนแปลง
ของผู้บริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมมีอิทธิพลส่งผลต่อการสื่อสารในองค์การ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 ด้านคนและด้านวัฒนธรรมในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 และ 0.1 ดังสมการ Ytot = .977+.545X1+.495X2+.719X3+.705X4
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). นโยบาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559.กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
ชาญชัย ทองประสิทธิ์.(2557). รูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลง.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้า(ลาดกระบัง).
ชุติมา มาลัย.(2560). การส่งเสริมพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ:ความท้าทายในการบริหาร
เพื่อพัฒนาคุณภาพอาจารย์พยาบาล.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.11(4), 38-42.
ณัฏฐกานต์ ดํารงรักษ์ธัญญา. (2560). ประสิทธิผลทางการศึกษาของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.11(4), 187-200.
ณัฏฐพันธ์เขจรนันทน์. (2557). กลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองค์กร. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
ธงชัย สันติวงษ์. (2560). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
ธารินี กิตติกาญจนโสภณ. (2559). ภาวะผู้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อความท้อแท้ของบุคลากรในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นนทบุรีเขต 2. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 4(2), 74-96.
ธารินี กิตติกาญจนโสภณ. (2560). การบริหารการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชลบุรีเขต 2. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.12(S), 113-125.
ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2557). ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่. กรุงเทพฯ:พิมพ์อักษร.
ประคอง กรรณสูต. (2554). สถิติศาสตร์ประยุกต์สำหรับครู. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ปัณรสมาลากุล. (2558). การบริหารการเปลี่ยนแปลงภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์คณะรัฐศาสตร์.
กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มัลลิกา ต้นสอน. (2556). ปัญหาการบริหารการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนสังกัดสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษายโสธร เขต 1.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา,
บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
รัศมี เจริญรัตน์. (2556). การบริหารการเปลี่ยนแปลงกับสภาพการพัฒนาบุคลากรสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาจังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร.
วิลาวัลย์ อันมาก. (2556).การบริหารการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วีระ วงศ์สรรค์. (2557). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีพริ้นติ้ง.
สนิท สายปินตา. (2557).การบริหารการเปลี่ยนแปลงกับงานพัฒนาบุคลากรในโรงเรียน ประถมศึกษา
สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอเวียงป่าเป้า.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย.
สัมมา รธนิธย์. (2557). หลักทฤษฎีและปฏิบัติการบริหารการศึกษา.กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีพริ้นติ้ง.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559).การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี: การบริหารการเปลี่ยนแปลง.กรุงเทพฯ: ธนธัชการพิมพ์.
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2557).กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา. (เล่ม 3). กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. (2561). สารสนเทศ สพป. ชบ.2. ชลบุรี: สำนักพิมพ์มนตรี.
เสาวนีย์ สมันต์ตรีพร. (2560). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาคธุรกิจในยุคการเปลี่ยนแปลง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. 6(1), 2-7.
Bartol, K. M.& Martin, D. C. (1998).Change management &management.NewYork: Englewood
Prentice-Hall.
Daniels and Spiker, 1994). Change management that helps communication. NewYork: McGraw-Hill.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activity.Educational and Psychological Measurement.30(3), 607 - 610.
McCormick, E. J. &Ilgen, D. R.(1985).Industrial and organization psychology.NewYork: Englewood Prentice-Hall.