การพัฒนาสมรรถนะพนักงานรักษาความปลอดภัยเพื่อเตรียมความพร้อม สู่ประชาคมอาเซียน

ผู้แต่ง

  • ณฐกร วัชรสินธุ์ คณะสังคมศาสตร์ มจร วังน้อย พระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

สมรรถนะ สมรรถนะพนักงานรักษาความปลอดภัย ประชาคมอาเซียน

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

          บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับสมรรถนะที่ต้องการของพนักงานรักษาความปลอดภัยในภาคธุรกิจรักษาความปลอดภัยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ผลการศึกษาศึกษาพบว่า สมรรถนะที่ต้องการของพนักงานรักษาความปลอดภัยในภาคธุรกิจรักษาความปลอดภัยประกอบด้วย ๕ สมรรถนะดังนี้ ๑) ด้านการสรรหาและการคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ ๒) ด้านการรักษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ๓) ด้านการจัดการคนเก่งและพัฒนาองค์การ ๔) ด้านการแก้ปัญหาและสนับสนุนองค์การ และ ๕) ด้านภาวะผู้นำทางการจัดการทรัพยากรมนุษย์

References

บรรณานุกรม
หนังสือ
ประเวศน์ มหารัตน์สกุล. (๒๕๕๐). การจัดการทรัพยากรมนุษย์: มุ่งสู่อนาคต. (พิมพ์ครั้งที่ ๑). กรุงเทพฯ, สำนักพิมพ์พิมพ์ตะวัน.
วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์
เกื้อจิตร ชีระกาญจน์. (๒๕๕๕). สมรรถนะในปัจจุบันของผู้จัดการฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคลในกลุ่มธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย.รายงานผลการวิจัย,กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
พงษ์กฤษณ์ มงคลสินชุ, พเยาว์ ศรีแสงทอง และโชติมา แก้วทอง.“การศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนามาตรฐานอาชีพรักษาความปลอดภัย.รายงานการวิจัย กรุงเทพมหานคร,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๒.
สมบุญ บวรอุดมศักดิ์. “บทบาทและสมรรถนะของนักทรัพยากรมนุษย์ตามความคาดหวังของผู้บริหารระดับสูงขององค์การธุรกิจ”. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยบูรพา, ๒๕๕๐.
วารสาร
ธัชพงศ์ เศรษฐบุตร. (๒๕๕๕). การศึกษาความต้องการสมรรถนะของนักทรัพยากรมนุษย์สำหรับภาคอุตสาหกรรม. Veridian E-Journal. 5 (2), 426-448.
Maslow, A.H. (1943).“A Theory of Human Motivation.” Psychological Review. 50(4), 370-396.
McClelland, D.C.,“Test for Competence, rather than intelligence.” American Psychologists 7, 17 (1973), 57-83.
สื่ออิเล็คทรอนิคส์
ชนิตา ภระมรทัต. (๒๕๕๗). กลยุทธ์จัดทัพ & บริหารคนเก่ง รับมือเออีซี.{ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.impressionconsult.com/web/index.php/articles/917-article-aec-employee-25072014.html [๒๐ มกราคม ๒๕๖๒]
ภูชิสส์ ศรีเจริญ.(๒๕๕๘). กลยุทธ์การเตรียมคนและการพัฒนาทุนมนุษย์สู่ AEC. [ออนไลน์] แหล่งที่มา: https://hrtrcs.redcross.or.th/wp-content/uploads/2013/11/5.AEC- puchit-21-3-57.pdf [๒๐ มกราคม ๒๕๖๒]
สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย.(๒๕๕๗). มาตรฐานวิชาชีพนักทรัพยากรบุคคล[ออนไลน์], แหล่งที่มา : https://www.pmat.or.th/main/index.php/
institute/hraccreditation/itemlist/category/๔๔-professional-standard-hr. [๒๐ มกราคม ๒๕๖๒]
สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. (๒๕๕๘). รายงานการศึกษาโอกาสและผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อกระทรวงมหาดไทย. [ออนไลน์], แหล่งที่มา : https://www.ppb.moi. go.th/midev01/upload/asean_final.pdf. [๒๐ มกราคม ๒๕๖๒]
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (๒๕๖๐). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔. [ออนไลน์], แหล่งที่มา : https://www. nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=395. [๒๐ มกราคม ๒๕๖๒]

Human Resources Professionals Association. (2014). Human Resources Professional Competency Framework. [ออนไลน์], แหล่งที่มา : https://hrdesignations.ca/ HRPA-Professional-HR-Competency-Framework.pdf [๒๐ มกราคม ๒๕๖๒]
Sean Darilay. (2014). Why should HR Managers worry about the ASEAN Economic Community (AEC)?. [ออนไลน์], แหล่งที่มา : https://www.towerswatson.com
/en/Insights/Newsletters/Asia-Pacific/points-of-view/2014/Why-should-HR-Managers -worry-about-ASEAN-Economic-Community [๒๐ มกราคม ๒๕๖๒]
Reference
Dales, M. and Hes, K., Creating Training miracles. Sydney: Prentice Hall, 1995, 80.
Good, Carter V., Dictionary of Education. New York: McGraw Hill, 1973, 121.
Parry, S.B., Evaluating the Impact of Training. Alexandra (VA: American Society of Training and Development, 1997), 87-90.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-08-06