องค์การแห่งการเรียนรู้

ผู้แต่ง

  • อภิญญา ฉัตรช่อฟ้า คณะสังคมศาสตร์ มจร วังน้อย พระนครศรีอยุธยา
  • บุญทัน ดอกไธสง

คำสำคัญ:

องค์การแห่งการเรียนรู้

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

          บทความเรื่อง “องค์การแห่งการเรียนรู้” เป็นบทความทางวิชาการที่มุ่งศึกษากระบวนการพัฒนาองค์การ ขั้นตอนการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ รวมถึงปัจจัยแห่งความสำเร็จและสิ่งที่สะท้อนปัญหาอุปสรรค เพื่อก้าวสู่องค์การแห่งการเรียนรู้

          ผลการศึกษาพบว่า การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสารสนเทศที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง และความซับซ้อนของระบบเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลกระทบกับการดำเนินงานทั้งภายในและภายนอกองค์การ อีกทั้งแนวคิดในการบริหารจัดการสมัยใหม่ทั้งการบริหารการเปลี่ยนแปลง ทำให้องค์การและหน่วยงานทั้งหลายต้องปรับท่าที เพื่อความอยู่รอดและมีภูมิคุ้มกันอย่างมั่นคง ซึ่งจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ ให้ความรู้ทั้งหลายนั้นกลายเป็นความรู้ที่เกิดประโยชน์สำหรับคนทั้งองค์การ เพื่อการก้าวเข้าสู่องค์การแห่งการเรียนรู้

References

เจษฎา นกน้อย. 12 แนวคิดฝ่าวิกฤตองค์กร. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.
เจษฎา นกน้อย. พุทธธรรมกับการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้. Chulalongkorn Review 18 (70), 2549: 56-70.
บดินทร์ วิจารณ์. สร้างและต่อยอดความรู้ในองค์การ. นิตยสาร CIO Forum, 33 (7) พฤศจิกายน, 2546: 31.
ภานุ ลิมมานนท์. กลยุทธ์การจัดการนวัตกรรมธุรกิจสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร : สิปรัช, 2546.
วิจารณ์ พานิช. การจัดการความรู้ฉบับนักปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : สุขภาพใจ, 2549.
วีระวัฒน์ ปันนิตามัย. การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร : เอ็กซ์เปอร์เน็ต, 2544.
สาริน (นามแฝง), องค์การอัจฉริยะ: องค์การแห่งการเรียนรู้. วารสารสำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. 12 (4) มีนาคม, 2547: 12, 15.
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. การจัดการนวัตกรรมสำหรับผู้บริหาร. กรุงเทพมหานคร : งานส่งเสริมภาพลักษณ์องค์การ, 2547.

Argyris, C., & Schon, D. Organization learning: a theory of action perspective. (MA: Addision Wesley, 1978.
Garvin, D. Building a learning organization. Harvard Business Review, 71, 1993: 78-91.
Marquardt, M. J. Building the learning organization: a systems approach to quantum improvement and global success. New York: McGraw-Hill, 1996.
Rynes, S. L., Bartunek, J., & Daft, R. L. Across the grate divide: knowledge creation and transfer between practitioner and academics. Academy of Management Journal, 44, 2001: 340-355.
Senge, P. M. The fifth disciplines: the art and practice of learning organization. London: Century Business, 1990

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-08-06