Teachers’ Participation in Developing Morality according to the Student Identity in Catholic Schools of Nakhonratchasima Diocese
Keywords:
Teachers’ Participation, Moral Development, Catholic SchoolsAbstract
This research aimed to (1) study the levels of teachers’ participation in moral development according to student identity (2) to compare the teachers’ participation in developing morality according to students’ identity classified by education level, current working year, and teacher's monthly income. (3) study the guidelines for developing teachers’ participation in developing morality according to students’ Identity in Catholic Schools of Nakhonratchasima Diocese. totaling 285. The instruments used were a 5-point rating scale questionnaire and a instructured interview form with content validity between 0.80-1 and reliability 0.97. The statistics used for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and F test.
The research findings were:
- Overall, the teachers’ participation in developing morality according to students’ identity of the Catholic Schools of was at highest level.
- Comparing the teachers’ developing morality according to students’ Identity of the Catholic Schools, of Nakhonratchasima Diocese, it found that the teacher with different education levels, current working year, and monthly income did not have different participation in developing morality according to students’ Identity.
- The guidelines for developing the teachers’ participation in developing morality strategic plans and annual operational plan to be used as guideline for developing morality according to the identity of love and kindness, honesty and gratitude in a sufficient manner clearly.
References
คณะทำงานส่งเสริมกระบวนการรับรองมาตรฐานโรงเรียนคุณธรรม จังหวัดบุรีรัมย์ (2565). สรุปรายงาน โครงการส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนคุณธรรม สู่กระบวนการรับรองมาตรฐาน ปี พ.ศ. 2565 กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนคุณธรรมวิถีคริสต์. คณะทำงานส่งเสริมกระบวนการรับรองมาตรฐาน โรงเรียนคุณธรรม จังหวัดบุรีรัมย์ ปีการศึกษา 2565.
จิณณะ สิทธิวงษ์. (ม.ป.ป.). พฤติกรรมการออมเงินของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2566. จาก https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/vlt17/6414993064.pdf
จิราพร เฉินจุณวรรณ. (2562). การศึกษาทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับการแต่งเครื่องแบบนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ. สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2566. จาก https://www.atc.ac.th/FileATC/%E0%B8%A8%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%).pdf
จิราวัลย์ จันทร์ศิริ, พระปลัดโฆษิต โฆสิโต และธีระพงษ์ สมเขาใหญ่. (2563). การบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมในยุคไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3. วารสาร มจร. อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2563).
ทิพวัล มลิแสง. (2553). การมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของสมาชิกสหกรณ์ภาคการเกษตรในจังหวัดกระบี่. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
นุชนภา เรืองเดชไชย. (2561). การส่งเสริมคุณธรรมพื้นฐานสำหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านหัววัง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 2. การศึกษาค้นคว้าอิสระตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2561.
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
ฝ่ายการศึกษาอบรมสังฆมณฑลนครราชสีมา. (2563). แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษากลุ่มโรงเรียนสังกัดสังฆมณฑลนครราชสีมา (รสน.) ฉบับที่ 2 (2563-2567). ฝ่ายการศึกษาอบรมสังฆมณฑลนครราชสีมา.
พรสวรรค์ พงษ์ดี. (2551). แนวทางการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ของผู้บริหาร ครู และผู้ปกครองนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสํานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษานครสวรรค์ เขต 3. (ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. จังหวัดลพบุรี.
พระปรเมศวร์ ปญฺญาวชิโร (แจ่มแจ้ง). (2554). ความคิดเห็นของครูผู้สอนต่อการบริหารงานตามหลกัธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาในเขตอำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์การศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยพุทธศักราช 2554.
พระมหาตุ๋ย ขนฺติธมฺโม (คำหน่อ) พระสมุห์พุฒิพงษ์ พุทฺธิวํโส (กล่ำทวี). (2564). บทบาทครูในศตวรรษที่ 21. “ครูผู้สร้างคน” วารสารภาวนาสารปริทัศน์ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2564).
ไพศาล วรคำ. (2561). การวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 9. มหาสารคาม : ตักสิลาการพิมพ์.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (2562). เอกสารประกอบการสอน รายวิชาความเป็นครูและคุณธรรมจริยธรรม. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 2562.
โรงเรียนดรุณสิกขาลัย. (2561). คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองดรุณสิกขาลัยโรงเรียนนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ประจำปีการศึกษา 2561. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2566. จาก https://e-school.kmutt.ac.th/Upload/N11530081592.pdf
โรงเรียนบ้านสบกอน. (ม.ป.ป.). คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2566. จาก https://sobkornschool.ac.th/uploadDownload/sobkornschool158_20230822165910_13137.pdf
ศิริรัตน์ รัตนะ. (2564). ความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมให้แก่นักเรียนโรงเรียนวัดบางปะกอก. วารสารบัณฑิตศึกษา มรภ. บ้านสมเด็จเจ้าพระยา 6(1) มกราคม-มิถุนายน 2564.
ลักขณา ธรรมสุภาพงศ์ และเอมอร หวานเสนาะ. (2563). แรงจูงใจของนักศึกษาในการออมเงินกับโครงการธนาคารโรงเรียน. วารสารวิจัยรำไพพรรณี ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 (2020) : กันยายน–ธันวาคม 2563, 149.
สถิระ ราชรินทร์. (2561). วิเคราะห์เมตตาในฐานะเป็นฐานแนวคิดภราดรภาพ. วารสาร มจร. ปรัชญาปริทรรศน์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม–ธันวาคม 2561), 4.
สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย. (2012). ก้าวไปข้างหน้าด้วยอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ปี ค.ศ.2012-2015. (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ, 2555), 8-10.
สมบูรณ์ ตันยะ. (2546). วิทยาการวิจัย. นครราชสีมา : คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏนครราชสีมา.
สุพักตร์ พิบูลย์. (2555). เสวนาประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเตรียมรับการประเมินภายนอกรอบ 3. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2566. จาก shorturl.at/dhoEd<http://drsuphakedqa.blogspot.com.>20 กุมภาพันธ์ 2555.
สุรชัย เจริญพงศ์. (2563) แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษากลุ่มโรงเรียนสังกัดสังฆมณฑลนครราชสีมา(รสน) ฉบับที่ 2(2563-2567). ฝ่ายการศึกษาอบรมสังฆมณฑลนครราชสีมา.
สุรินทร์ จารย์อุปการะ และประเสริฐ อินทร์รักษ์. (2558). การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก. วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม 7, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2558).
เอกชัย ชิณโคตร. (2564). สรุปรายงานโครงการส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนคุณธรรมสู่กระบวนการรับรองมาตรฐาน ปี พ.ศ. 2564 กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนคุณธรรมวิถีคริสต์. คณะทำงานส่งเสริมกระบวนการรับรองมาตรฐาน โรงเรียนคุณธรรม จังหวัดบุรีรัมย์ ปีการศึกษา 2564.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
จรรยาบรรณผู้เขียนบทความ
ผู้เขียนบทความต้องรับรองว่าบทความนี้ไม่เคยตีพิมพ์ในวารสารใดหรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ มาก่อน ต้องไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นมาปรับแต่งเป็นบทความของตน และไม่ได้อยู่ระหว่างการเสนอเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ อีกทั้งยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาและการตรวจแก้ไขบทความต้นฉบับโดยกองบรรณาธิการวารสารวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
บทความทุกเรื่องได้รับการตรวจพิจารณาทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์และมีความเชี่ยวชาญตรงตามสาขาของบทความ ซึ่งผู้เขียนต้องแก้ไขตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิภายในระยะเวลาที่กำหนด หากไม่เป็นไปตามกำหนดกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์และยกเลิกการตีพิมพ์โดยจะแจ้งให้ทราบต่อไป
ข้อความที่ปรากฏในบทความของวารสารนี้เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยนครราชสีมาแต่อย่างใด และกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตรวจประเมินบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารของวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์