The Development of Project-Based Learning Management For Learning Achievement in the Learning Unit of Phenomenon of Earth and Space Technology and Creative Thinking of Prathomsuksa 6 Students.
The Development of Project-Based Learning Management For Learning Achievement in the Learning Unit of Phenomenon of Earth and Space Technology and Creative Thinking of Prathomsuksa 6 Students.
Keywords:
Project-based learning, Creative thinking, Learning achievementAbstract
The purposes of this research were to 1) develop project-based lesson plans in the learning unit of the phenomenon of earth and space technology (PEST) of Prathomsuksa 6 students to meet the efficiency criteria of 80/80, 2) compare the students' learning achievement before and after learning through the project-based learning management, and 3) compare creative thinking before and after learning through the project-based learning management. The samples were 19 Prathomsuksa 6 students at Ban Nong Waeng School under Chaiyaphum Educationa Service Area Office 1 in the second semester, the academic year 2021, obtained by simple random sampling. The research instruments comprised 1) 9 project-based lesson plans, 2) a learning achievement test, and 3) a creative thinking assessment form. The data were analyzed by using basic statistics consisting of mean, standard deviation, and dependent samples t-test.
The results revealed as follows:
1) Project-based lesson plans in the learning unit of PEST of Prathomsuksa 6 students had an efficiency of 82.86/80.35 and met the set criteria.
2) Learning achievement in the learning unit of PEST of Prathomsuksa 6 students after learning through project-based, was higher than before, at the statistically significant level of .05
3) The creative thinking in the unit of PEST of Prathomsuksa 6 students, after learning through project-based, was higher than before, at the statistically significant level of .05
References
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2549). การคิดเชิงวิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่5. กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย.
ดุษฎี โยเหลา และคณะ. (2557). การศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบ PBL ที่ได้จากโครงการสร้างชุด ความรู้เพื่อสร้างเสริมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของเด็กและเยาวชน : จากประสบการณ์ ความสำเร็จของโรงเรียนไทย. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัดทิพย์วิสุทธิ์.
นุรไอนี ดือรามะ. (2559). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ปรัชญนันท์ นิลสุข. (2558). การจัดการเรียนรู้แบบโครงการเป็นฐาน (Project-based Learning). กรุงเทพมหานคร : MA Education.
ปรีชา ปาโนรัมย์. (2560). การวิเคราะห์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้จากผลงานวิจัย.การวิเคราะห์ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้จากผลงานวิจัย. วารสารสหวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์.
ภานุวัฒน์ พันชนกกูล. (2561). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ที่ส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และการคิดสร้างสรรค์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. มหาสารคาม : ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
มนตรี ล้ำเลิศ. (2563). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน รายวิชาทัศนศิลป์เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
เมธาวี โสรเนตร. (2560). การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคอมพิวเตอร์และความสามารถในการทำโครงงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. ศึกษามหาบัณฑิต. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
โรงเรียนบ้านหนองแวง. (2563) รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนบ้านหนองแวง ปีการศึกษา 2563. ชัยภูมิ : โรงเรียนบ้านหนองแวง.
ลัดดา ภู่เกียรติ. (2552). การสอนแบบโครงงานและการสอนแบบใช้วิจัยเป็นฐาน : งานที่ครูประถมทำได้. กรุงเทพมหานคร : สาฮะแอนด์ซัน พริ้นติ้ง.
วันเพ็ญ พิเสฎฐศลาศัย และคณะ. (2557). ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมเสริมด้วยแผนผังความคิดต่อความสามารถในการคิดแก้ปัญหา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). จากหลักสูตรแกนกลางสู่หลักสูตรสถานศึกษา กระบวนทัศน์ใหม่การพัฒนา. กรุงเทพฯ : จรัญสนิทวงศ์การพิมพ์.
สมนึก ภัททิยธนี. (2551). การวัดผลการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 5). กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). การจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ลักษณ์.
สุทธิดา วงศามิ่ง. (2559). การสร้างแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
อารี พันธ์มณี. (2557). ฝึกให้คิดเป็น คิดให้สร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
จรรยาบรรณผู้เขียนบทความ
ผู้เขียนบทความต้องรับรองว่าบทความนี้ไม่เคยตีพิมพ์ในวารสารใดหรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ มาก่อน ต้องไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นมาปรับแต่งเป็นบทความของตน และไม่ได้อยู่ระหว่างการเสนอเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ อีกทั้งยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาและการตรวจแก้ไขบทความต้นฉบับโดยกองบรรณาธิการวารสารวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
บทความทุกเรื่องได้รับการตรวจพิจารณาทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์และมีความเชี่ยวชาญตรงตามสาขาของบทความ ซึ่งผู้เขียนต้องแก้ไขตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิภายในระยะเวลาที่กำหนด หากไม่เป็นไปตามกำหนดกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์และยกเลิกการตีพิมพ์โดยจะแจ้งให้ทราบต่อไป
ข้อความที่ปรากฏในบทความของวารสารนี้เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยนครราชสีมาแต่อย่างใด และกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตรวจประเมินบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารของวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์