การดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในจังหวัดนนทบุรี
Operations by the Good Governance Principles of Local Government Organizations Affecting the Life Quality of People in Nonthaburi Province
Keywords:
administration by good governance principles, organizational effectiveness, Subdistrict MunicipalityAbstract
The research purposes were: (1) to study the level of operations by the good governance principles of local government organizations and the life quality of people in Nonthaburi Province; (2) to study the operations by the good governance principles of local government organizations affecting the life quality of people in Nonthaburi Province; and (3) to present the guidelines for developing the life quality of people in Nonthaburi Province. This was the quantitative research and quantitative research. The target population was the people aged 18 years and over, and had household registration in Nonthaburi Province. The sample group for quantitative research was the 400 people, and the research instrument was the questionnaire. The sample group for qualitative research was the 25 people, and the research instrument was the in-depth interview form. The quantitative data analysis statistics were the frequency, percentage, mean, standard deviation, multiple regression analysis, correlation analysis, and the qualitative data analysis by the content analysis. The research findings were:
1. The operations by the good governance principles of local government organizations in Nonthaburi Province found the overall was at high level; the descending mean were: the equity principle aspect, the effectiveness principle aspect, the morality and ethics principle aspect, the efficiency principle aspect, the decentralization principle aspect, the transparency principle aspect, the accountability principle aspect, the responsiveness principle aspect, and the aspect of rule of law principle, and the participation principle aspect, respectively.
2. The life quality of people in Nonthaburi Province found the overall was at moderate level; the descending mean were: the social relationship aspect, followed by the environment aspect, the mentally aspect, and the body aspect, respectively.
3. The operations by the good governance principles of local government organizations in Nonthaburi Province found the accountability principle aspect, and the aspect of rule of law principle affected the life quality of people in Nonthaburi Province at statistical significance level .05.
4. To promote the participation of the people, the local government organizations should allow people to inspect the local work processes for the maximum benefit of the people, which will affect the life quality of people to support the movement of further development of the country
References
กมลพรรณ พึ่งด้วง. (2560). การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร. ปริญญานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กิตติ์รวี เลขะกุล. (2561). ธรรมาภิบาล วัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย. วิดุษฎีนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตมหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
กุลวัชร หงส์คู. (2553). ธรรมาภิบาลกับการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกรณีศึกษา เทศบาลนครสมุทรสาคร. หลักสูตรการพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้งระดับสูง รุ่นที่ 1 สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง.
จักรพงษ์ เกเย็น. (2554). คุณภาพชีวิตผู้อยู่อาศัยในชุมชนของการเคหะแห่งชาติในเขตกรุงเทพมหานคร ศึกษากรณี โครงการเคหะชุมชนทุ่งสองห้อง อาคารแฟลตเช่า. ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ณัฐวัฒน์ ขันโท. (2557). คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่หน่วยบริการชุมชน คลินิกศูนย์แพทย์พัฒนา. ปริญญานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
ถวิลวดี บุรีกุล และคณะ. (2547). การประเมินผลการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองในบริบทของการกระจายอำนาจและการจัดทำกรณีศึกษาจากประสบการณ์ที่ได้รับ กรณีศึกษา เครือข่ายป่าชุมชนลุ่มน้ำแม่ปิงตอนบน องค์กรชุมชนประมงพื้นบ้านปัตตานี สภาพัฒนาหมู่บ้านหนองโก. (พิมพ์ครั้งที่ 1) นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า.
ธงเทพ สรรธนสมบัติ. (2559). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลตำบลปางปะกงอำเภอบางประกง จังหวัดฉะเชิงเทรา. ปริญญานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
นิชาภา เชยะสิทธิ์ และคณะ. (2561). องค์ประกอบการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล ของกรมทรัพยากรน้ำบาดาล. ปริญญานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
ปรางทิพย์ ภักดีศรีไพรวัลย์. (2559). การศึกษาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนบ้านแสนตอ ตำบลท่าผา อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง. ปริญญานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พงษ์พิพัฒน์ นารินรักษ์. (2563). ปัจจัยการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 23. วารสารการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 8 (32). 168-181.
พลวัฒน์ วิไลชื่นผล และ รัฐบุรุษ คุ้มทรัพย์. (2563). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา. ปริญญานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ.
วุฒิสาร ตันไชย. (2544). การกระจายอำนาจการปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2560). หลักธรรมาภิบาลของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
สุรศักดิ์ โตประสี. (2553). ธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลังขององค์การบริหารส่วนตำบล. ดุษฎีนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อนรรฆ อิสเฮาะ. (2561). คุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา. ปริญญานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
WHOQOL Group. (1996). What Quality of Life? World Health Organization Quality of Life Assessment World Health Forum. 17, 354-356.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
จรรยาบรรณผู้เขียนบทความ
ผู้เขียนบทความต้องรับรองว่าบทความนี้ไม่เคยตีพิมพ์ในวารสารใดหรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ มาก่อน ต้องไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นมาปรับแต่งเป็นบทความของตน และไม่ได้อยู่ระหว่างการเสนอเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ อีกทั้งยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาและการตรวจแก้ไขบทความต้นฉบับโดยกองบรรณาธิการวารสารวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
บทความทุกเรื่องได้รับการตรวจพิจารณาทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์และมีความเชี่ยวชาญตรงตามสาขาของบทความ ซึ่งผู้เขียนต้องแก้ไขตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิภายในระยะเวลาที่กำหนด หากไม่เป็นไปตามกำหนดกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์และยกเลิกการตีพิมพ์โดยจะแจ้งให้ทราบต่อไป
ข้อความที่ปรากฏในบทความของวารสารนี้เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยนครราชสีมาแต่อย่างใด และกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตรวจประเมินบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารของวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์