ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการเช่า Pocket Wi-Fi ของบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง
Marketing MIX Factors That Influence the Motivation to Rent A Pocket Wi-Fi of a Private Company
คำสำคัญ:
ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด, แรงจูงใจในการเช่า, Pocket Wi-Fiบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการเช่า Pocket Wi-Fi ของบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง เพื่อให้ทราบถึงข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพฤติกรรมการให้บริการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้ใช้บริการเช่า Pocket Wi-Fi ของบริษัท SmileWi-Fi ท าการสุ่มแบบง่าย (Simple random sampling) จึงกลุ่มตัวอย่างตัวอย่าง จeนวน 450 คน และใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากนั้นนeข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามไปวิเคราะห์ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์การดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Linear Regression Analysis)
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 300 คน ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุ 31-40 ปี จeนวน 164 คน มีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน จำนวน 80 คน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนระหว่าง 16,000-30,000 บาท มีจำนวน 134 คน ภูมิภาคที่อยู่ของผู้ใช้งานภาคกลาง มีจำนวน 353 คน มีแหล่งรับรู้ข้อมูลข่าวสาร สื่อสังคมออนไลน์ จำนวน 256 คน โดยปัจจัย ส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิผลต่อการตัดสินใจเช่า Pocket Wi-Fi คือ Product (β = .375), Price (β = 261), Promotion (β = .167) และ Place (β = .113) ตามล าดับ
References
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2558). สถานการณการใชงานอินเทอรเน็ตของประชาชนชาวไทย. สืบคนจาก http://www.mict.go.th/.
เจตริน ศรีโสมะสัจจะกุล. (2559). การศึกษาความพึงพอใจในการเช่า Pocket Wi-Fi ไปใช้ในประเทศญี่ปุ่น ของนักท่องเที่ยวชาวไทย. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ธงชัย สันติวงษ์ (2540). พฤติกรรมผู้บริโภคทางการตลาด. ส านักวิทยบริการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยตะวันออกเฉียงเหนือ
ธิดาพร ราชวัตร. (2560). อิทธิพลของความตระหนักรู้ ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และการรับรู้ถึงคุณภาพการใช้งานที่ส่งผลความตั้งใจซื้อ pocket Wi-Fi ของพนักงานในระดับปฏิบัติการในอาคารบางนาทาวเวอร์ จังหวัดสมุทรปราการ. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ศิริวรรณ เสรีรัตน์, ศุภร เสรีรัตน์, องอาจ ปทะวานิช และปริญ ลักษิตานนท์. (2546). การบริหารการตลาดยุค ใหม่. กรุงเทพมหานคร: บริษัทธีระฟิลม์และไซเท็กซ์จ ากัด.
เสรี วงษ์มณฑา. (2542). กลยุทธ์การตลาด การวางแผนการตลาด. กรุงเทพมหานคร:ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.
อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2543). กลยุทธ์การตลาด. (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2543.
Arens, F. W. (2002). Contemporary advertising. (8th ed.). New York: McGraw-Hill.
Armstrong, G., & Kotler, P. (2003). Marketing and Introduction. (6th ed.). New Jersey: Pearson Education Inc.
Cronbach, L.J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika, 16 (3), 297-334. New York: Harper.
Domjan, M. (1996). The Principles of Learning and Behavior Belmont. California: Thomson Wadsworth.
En Wang ; Yongjian Yang; Jie Wu; Wenbin Liu (2016). Phone-to-Phone Communication Utilizing WiFi Hotspot in Energy-Constrained Pocket Switched Networks. IEEE Transactions on Vehicular Technology.
Etzel, Walker and Stanton. (2001). Marketing. 12th ed. New York: McGraw-Hill Companies, inc.
George and Belch. (2001). Advertising and Promotion: An Integrated Marketing Communication Perspective. 5th ed. New York: McGraw-Hill.
Kidd, J. R. (1973). How Adults Learn. New York: Association Press
Kotler, Philip. (2000). Marketing Management (The Millennium edition). Upper Saddle River, NJ: PersonPrentiec Hall.
Kotler, P. (1997). Marketing management: analysis, planning implementation and control. (9 th ed). New Jersey: Asimmon & Schuster.
Lovell, R. B. (1980). Adult Learning. New York: Halsted Press Wiley & Son
Pan Hui, Augustin Chaintreu, James Scott, Richard Gass (2005) Pocket switched networks and human mobility in conference environments. New York, New York, United States of America
Yamane, T. (1967). Statistics: An introductory analysis. (2nd ed.). New York: Harper & Row
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
จรรยาบรรณผู้เขียนบทความ
ผู้เขียนบทความต้องรับรองว่าบทความนี้ไม่เคยตีพิมพ์ในวารสารใดหรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ มาก่อน ต้องไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นมาปรับแต่งเป็นบทความของตน และไม่ได้อยู่ระหว่างการเสนอเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ อีกทั้งยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาและการตรวจแก้ไขบทความต้นฉบับโดยกองบรรณาธิการวารสารวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
บทความทุกเรื่องได้รับการตรวจพิจารณาทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์และมีความเชี่ยวชาญตรงตามสาขาของบทความ ซึ่งผู้เขียนต้องแก้ไขตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิภายในระยะเวลาที่กำหนด หากไม่เป็นไปตามกำหนดกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์และยกเลิกการตีพิมพ์โดยจะแจ้งให้ทราบต่อไป
ข้อความที่ปรากฏในบทความของวารสารนี้เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยนครราชสีมาแต่อย่างใด และกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตรวจประเมินบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารของวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์