การศึกษาความสอดคล้องคุณค่าจากแอไจล์และอุตสาหกรรม 4.0
Study of the values agreements in agile and industry 4.0
คำสำคัญ:
คุณค่า, แอไจล์ , อุตสาหกรรม 4.0 , การวิเคราะห์เนื้อหาบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสอดคล้องระหว่างคุณค่าจากการทำงานแอไจล์และคุณค่าจากการทำงานในบริบทอุตสาหกรรม 4.0 งานวิจัยนี้วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลคือการสัมภาษณ์กลุ่ม (Focus Group Interview) บุคคลผู้ปฏิบัติงานแอไจล์และอุตสาหกรรม 4.0 จำนวนทั้งหมด 4 กลุ่ม โดยใช้การเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง มีการดำเนินการตั้งแต่การกำหนดเป้าหมายการวิเคราะห์เนื้อหา การเลือกเนื้อหาที่จะวิเคราะห์ การกำหนดหมวดหมู่ของเนื้อหาที่จะวิเคราะห์ การสรุปหน่วยของการวิเคราะห์ เตรียมการลงรหัส ทดสอบ และตรวจสอบความน่าเชื่อถือผู้ลงรหัส (Inter-coder reliabilities) สุดท้ายจึงนำไปวิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรม MAXQDA
ผลการศึกษาพบว่าการทำงานแอไจล์และอุตสาหกรรม 4.0 สอดคล้องกันทั้งหมด 11 คุณค่า การเรียนรู้ (Learning), ความเรียบง่าย (Simplicity), กระบวนการเปิดเผยและโปร่งใส (Openness & Transparency), ความเร็วในการส่งมอบ (Speed), การมีความกล้าและแรงบันดาลใจ (Courage & Motivation), มีความยืดหยุ่น (Flexibility), การประยุกต์ใช้ (Adaptability), การมีความคิดสร้างสรรค์และความสามารถเชิงลึก (Creative & Technical excellence), กระบวนการมีประสิทธิผล (Effectiveness) และมีความสนุกในการทำงาน (Fun)
References
Agile Alliance. (2001). Agile Manifesto Signatories. Agile Manifesto Signatories. https://agilemanifesto.org/display/
Alaidaros, H., Omar, M., & Romli, R. (2021). The state of the art of agile kanban method: Challenges and opportunities. Independent Journal of Management & Production, 12(8), 2535–2550. https://doi.org/10.14807/ijmp.v12i8.1482
Babkin, A., Safiullin, A., Tronin, V., & Alexandrov, A. (2022). Transformation of Software Project Management in Industry 4.0. In D. Rodionov, T. Kudryavtseva, A. Skhvediani, & M. A. Berawi (Eds.), Innovations in Digital Economy (Vol. 1619, pp. 159–170). Springer International Publishing. https://doi.org/10.1007/978-3-031-14985-6_11
de Buitrago, S. R. (2019). Conducting qualitative content analysis across languages and cultures. Forum Qualitative Sozialforschung/Forum: Qualitative Social Research, 20(3).
Fowler, M., & Highsmith, J. (2001). The agile manifesto. Software Development, 9(8), 28–35.
Freelon, D. G. (2010). ReCal: Intercoder reliability calculation as a web service. International Journal of Internet Science, 5(1), 20–33.
Hron, M., & Obwegeser, N. (2022). Why and how is Scrum being adapted in practice: A systematic review. Journal of Systems and Software, 183, 111110. https://doi.org/10.1016/j.jss.2021.111110
Jasinska, K., & Jasinski, B. (2019). The Role of Implementing Projects in the Transformation of a Service Enterprise in Terms of Industry 4.0. Case Study of a Company from the Service Sector in Poland1.
Leffingwell, D. (2018). SAFe 4.5 reference guide: Scaled agile framework for lean enterprises. Addison-Wesley Professional.
Madi, T., Dahalin, Z., & Baharom, F. (2011). Content analysis on agile values: A perception from software practitioners. 2011 Malaysian Conference in Software Engineering, 423–428. https://doi.org/10.1109/MySEC.2011.6140710
Nili, A., Tate, M., & Barros, A. (2017). A critical analysis of inter-coder reliability methods in information systems research.
O. Nyumba, T., Wilson, K., Derrick, C. J., & Mukherjee, N. (2018). The use of focus group discussion methodology: Insights from two decades of application in conservation. Methods in Ecology and Evolution, 9(1), 20–32.
Paterek, P. (2019). Agile transformation changes from the perspective of project team values. Project Management Development–Practice and Perspectives, 162.
Rojko, A. (2017). Industry 4.0 Concept: Background and Overview. International Journal of Interactive Mobile Technologies (IJIM), 11(5), 77. https://doi.org/10.3991/ijim.v11i5.7072
Weber, R. P. (1990). Basic content analysis (Vol. 49). Sage.
Xu, L. D., Xu, E. L., & Li, L. (2018). Industry 4.0: State of the art and future trends. International Journal of Production Research, 56(8), 2941–2962. https://doi.org/10.1080/00207543.2018.1444806
Zhang, Y., & Wildemuth, B. M. (2005). Qualitative Analysis of Content. Human Brain Mapping, 30(7), 2197-2206.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
จรรยาบรรณผู้เขียนบทความ
ผู้เขียนบทความต้องรับรองว่าบทความนี้ไม่เคยตีพิมพ์ในวารสารใดหรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ มาก่อน ต้องไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นมาปรับแต่งเป็นบทความของตน และไม่ได้อยู่ระหว่างการเสนอเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ อีกทั้งยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาและการตรวจแก้ไขบทความต้นฉบับโดยกองบรรณาธิการวารสารวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
บทความทุกเรื่องได้รับการตรวจพิจารณาทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์และมีความเชี่ยวชาญตรงตามสาขาของบทความ ซึ่งผู้เขียนต้องแก้ไขตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิภายในระยะเวลาที่กำหนด หากไม่เป็นไปตามกำหนดกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์และยกเลิกการตีพิมพ์โดยจะแจ้งให้ทราบต่อไป
ข้อความที่ปรากฏในบทความของวารสารนี้เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยนครราชสีมาแต่อย่างใด และกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตรวจประเมินบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารของวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์