แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการเลิกบุหรี่

Guidelines for changing dissolution smoking behavior

ผู้แต่ง

  • รัชตะ รอสูงเนิน, ธนาคาร เสถียรพูนสุข, สาธิต สีเสนซุย, วัชรากร หวังหุ้นกลาง, วันฉัตร โสฬส อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย คณะสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา

คำสำคัญ:

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม, พฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่, แรงสนับสนุนของสังคม

บทคัดย่อ

          บทความนี้ได้ศึกษาถึงแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ ซึ่งในบทความนี้ได้รวบรวมแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ไว้ 4 แนวทาง ซึ่งประกอบด้วย แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเชิงพุทธบูรณาการ แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของโปรชาสกาและไดคลินเมนเต้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเองและแรงสนับสนุนของสังคม และแนวทางการประยุกต์ใช้การออกกำลังกายร่วมกับรูปแบบการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และจากข้อมูลชี้ให้เห็นว่า ในแต่ละแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ นั้นสามารถส่งผลช่วยให้ผู้ที่มีพฤติกรรมสูบบุหรี่นั้นเกิดพฤติกรรมเลิกสูบบุหรี่ได้ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในสังคมหรือคนรอบข้างเพื่อให้เกิดพฤติกรรมการเลิกบุหรี่อันเป็นสาเหตุของโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ มากมาย

References

กรมควบคุมโรค. (2563). ติดบุหรี่ ติดโควิด เสี่ยงตายสูง. (ออนไลน์). เข้าถึงจาก:https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news=13157&deptcode=brc วันที่สืบค้น 25 กรกฏาคม 2564.

กรมอนามัย. (2551). คู่มือทันตบุคลากร. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://www.lanna.mbu.ac.th/artilces/Psycho01.asp วันที่สืบค้นข้อมูล 26 พฤษภาคม 2564.

กรองจิต วาทีสาธกกิจ. (2551). ผลกระทบของการสูบบุหรี่. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://guru.snook.com/ (2 มีนาคม 2560).

เขียน วันทนียตระกูล. (2552). ครูในฐานะเป็นนักวิทยาศาสตร์พฤติกรรม. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก http://dental.anamai.moph.go.th/oralhealth/PR/E-book/smoke/smoke11.html

ชฎาภรณ์ วัฒนวิไล และ วันเพ็ข รักษ์ปวงชน. (2561). แรงจูงใจในการสูบบุหรี่และความตั้งใจไม่สูบบุหรี่ของนักเรียนชายที่สมาชิกครอบครัวสูบบุหรี่. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา, ปีที่ 26 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม).

ชนกนันท์ รักษาสนธิ์, มณฑา เก่งการพานิช, ศรัณขา เบขจกุล และ ธราดล เก่งการพานิช. (2563).ประสิทธิผลของโปรแกรมการประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเองร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง. วารสารสุขศึกษา, ปีที่ 43 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน).

ธีระ ลิ่มศิลา. (2526). “อันตรายจากบุหรี่” สุขภาพ. 11(4) : 24 – 28.

พระสุระศักดิ์ ธุวสีโล (มะลิวัลย์). (2561). การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการเลิกบุหรี่เชิงพุทธบูรณาการ. ปริขขาดุษฎีนิพนธ์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พัฒน์ สุจ านงค์. (2539). บุหรี่มีพิษ – ชีวิตเป็นภัย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, สุขศึกษา.

มานิตย์ วัขร์ชัยนันท์. (2555). Exercise 2: ประโยชน์ที่พึงได้จากการออกก าลังกาย. (ออนไลน์). สืบค้นจาก http://vatchainan2.Blogspot.com/2012/04/Exercise-2.html เมื่อ 22 เมษายน 2561.

ยุพา จิ๋วพัฒนกุล และ นงนุช เพ็ชรร่วง. (2559). การป้องกันการสูบบุหรี่ในเยาวชน: มุมมองของครอบครัว. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 24(2), 42-50.

วิชัย เอกพลากร. (2557). การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2555. ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

วีระ เนริกูล และ เพ็ขพักตร์ อุทิศ. (2560, กันยายน-ธันวาคม). ผลของโปรแกรมการให้คำปรึกษาที่เน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมร่วมกับการออก าลังกายค่อความรู้สึกอยากบุหรี่และพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของผู้ป่วยจิตเภทที่ติดบุหรี่วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, ปีที่ 31 ฉบับที่ 3.

สุภาพร ทองศรี. (2560).ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนปทุมคงคา กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). ผลสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ พ.ศ.2560. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/News/2561/N31-08-61-1.aspx. วันที่สืบค้นข้อมูล 25 กรกฎาคม 2564.

โสภิดา ทิพย์สวัสดิ์, เพลินพิศ ฐานิวัฒนานนท์และ ทิพย์บัวเพ็ชร์. (2563, กรกฎาคม-กันยายน). ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการเลิกบุหรี่ต่อการเลิกบุหรี่ของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, ปีที่ 43 ฉบับที่ 3.

อรวรรณ หุ่นดี. (2560). บุหรี่กับมะเร็ง. กาขจนบุรี: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสถาบันราชภัฏกาญจนบุรี.

America College of Sports Medicine. (2006). ACSM guidelines for exercise testing and prescription. (7th ed.). Lippincott: American College of Sports Medicine.

Bandura. (1997). A. Self-efficacy: Social Learning Theory. NJ: Prentice-Hall.

Bellew, J. W., Symons, T. B., & Vandervoort, A. A. (2005). Geriatric fitness: Effects of aging and recommendations for exercise in older adults. Cardiopulmonary Physical Therapy Journal, 16, 21-32.

Caplan, G. (1974). Support systems and community mental health. New York: Behavioral Publication.

Cohen, S., Gottlieb, B. H., & Underwood, L. G. (2000). Social relationships and health. In S. Cohen, L. G. Underwood, & B. H. Gottlieb (Eds.), Social support measurement and intervention: A guide for health and social scientists. New York: Oxford University Press. (pp. 3-25).

Daniel, J. Z., Cropley, M., & Fife-Schaw, C. (2006). The effect of exercise in reducing desire to smoke and cigarette withdrawal symptoms is not caused by distraction. Addiction, 101, 1187-1192.

Matsee, C. & Waratwichit. C. (2017) Promotion of health literacy: from concept to practice.Boromarajonani College of Nursing, Uttaradit Journal, 9(2), 96–111.

Puettipinyo, C. (2015). Comprehensive tobacco control laws and policies. Public Health & Health Laws Journal, 3, 254 – 271.

Sopontammarak, A. (2015). Thailand youth drugs prevention in term of tobacco addicted protechtion. [Online]. Available from: http://www.thaihealth.or.th (in Thai) (2018, May 09).

Taylor, A. H., Ussher, M. H., & Faulkner, G. (2007). The acute effects of exercise on cigarette cravings, withdrawal symptoms, affect and smoking behaviour: A systematic review. Addiction, 534–543.

Thai Health Promotion Foundation (2017). Tobacco can control by community base. Bangkok. Cokoon and Core. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-08-30

How to Cite

รอสูงเนิน ร. (2021). แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการเลิกบุหรี่: Guidelines for changing dissolution smoking behavior. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 15(2), 362–376. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/hsjournalnmc/article/view/263392