การพัฒนารูปแบบการนิเทศผสมผสานเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะความเป็นครูที่ดีของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

The Development of Social Network Blended Supervision Model Enhancing Good Characteristics of Practice Teachers

ผู้แต่ง

  • สถิตย์ กุลสอน, พูนสิน ประคำมินท์, ประหยัด ฤาชากุล

คำสำคัญ:

รูปแบบการนิเทศผสมผสาน, คุณลักษณะความเป็นครูที่ดี, การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

บทคัดย่อ

          การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบกำรนิเทศผสมผสานเครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะความเป็นครูที่ดีของนักศึกษาฝึกประสบกำรณ์วิชำชีพครู และ 2) ศึกษาผลของกำรใช้รูปแบบกำรนิเทศ กลุ่มตัวอย่ำงคืออาจารย์นิเทศก์ จำนวน 7 คน ครูพี่เลี้ยง จำนวน 32 คน และนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชชีพครู จำนวน 32 คน รวมทั้งสิ้น 71 คน โดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดสมรรถนะการนิเทศ แบบประเมินคุณลักษณะความเป็นครูที่ดี แบบประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู แบบวัดความพึงพอใจ และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ยย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่ำที(t-test Dependent) และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา

          ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบกำรนิเทศผสมผสานเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะความเป็นครูที่ดีของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย หลักการ วัตถุประสงค์ และกระบวนการนิเทศ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นการเตรียมความพร้อม 2) ขั้นวางแผน การนิเทศ 3) ขั้นปฏิบัติการนิเทศ และ 4) ขั้นประเมินผลการนิเทศ 2. ผลการใช้รูปแบบการนิเทศผสมผสานเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะความเป็นครูที่ดีของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู พบว่า 1) อาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยง มีสมรรถนะการนิเทศหลังการใช้รูปแบบการนิเทศผสมผสานเครือข่ายสังคมออนไลน์สูงกว่าก่อนใช้รูปแบบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักศึกษามีคุณลักษณะความเป็นครูที่ดีหลังได้รับการนิเทศโดยรูปแบบการนิเทศผสมผสานเครือข่ายสังคมออนไลน์สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) นักศึกษาครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ มีความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการนิเทศ ผสมผสานเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะความเป็นครูโดยรวมอยู่ในระดับมาก

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2545 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่3) พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์กำรรับส่ง สินค้ำและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

________. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

กิตติมา เก่งเขตรกิจ, เกียรติศักดิ์ ล้วนมงคล และอรอุมา สอนง่าย (2563). การศึกษาสภาพปัญหาของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สาขาศิลปศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วารสารวิจัยรามคำแหง (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 23(1), 1-10.

จักษณา อธิรัตน์ปัญญา. (2558). การวิเคราะห์องค์ประกอบของคุณลักษณะครูดีในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิจัยและพัฒนา. 5(2), 30-48.

พรรณทิพย์ เกษเจริญคุณ. (2559). ปัญหาการนิเทศงานวิชาการภายในของโรงเรียนกลุ่มบางละมุง 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.

ปารณีย์ ขาวเจริญ, ดวงใจ สีเขียว และ ชมพูนุท สุขหวาน. (2561). การพัฒนารูปแบบการนิเทศโดยวิธีการสอนงานและการเป็นพี่เลี้ยงนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์. 19(1), 125-136.

มานี แสงหิรัญ, พนมพร ศิริถาพร และสุกัญญา รุจิเมธาภาส. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์และศิลปะ. 11(1), 879-894.

เรืองวิทย์ นนทภา. (2559). คุณลักษณะของครูที่ผู้เรียนประทับใจ: ต้นแบบของครูดี. วารสารวิชาการ วิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 10(2), 142-153.

วราพร ดาจับ. (2562). สื่อสังคมออนไลน์กับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 7(2), 143-159.

วัชรา เล่าเรียนดี. (2550). การนิเทศการสอน. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วัลนิกา ฉลากบาง. (2559). จิตวิญญาณความเป็นครู: คุณลักษณะสำคัญของครูมืออาชีพ. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. 6(2), 123-128.

วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2553). การวิจัยรูปแบบ. วารสารมหาวิทยาลัยรำชภัฏสกลนคร. 2(4), 1-15.

ศุภวรรณ สัจจพิบูล. (2560). การพัฒนารูปแบบการนิเทศการฝึกประบการณ์วิชาชีพครูเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของนิสิตครู. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 11(2), 177-192.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2551). กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Bonk, C.J. & Graham, C.R. (2006). The Handbook of Blended Learning: Global Perspectives, Local Designs. San Francisco, CA: Pfeiffer Publishing.

Carolan, B.V. (2014). Social Network Analysis and Education: Theory Methods and Applications. London: SAGE Publication.

Cheng, G. & Chau, J. (2016). Exploring the Relationships Between Learning Styles, Online Participation, Learning Achievment and Course Satisfaction: An Empirical Study of a Blended Learning Course. British Journal of Educational Technology. 47(2), 257-278.

Glickman ,Carl.D., Stephen P. Gordon & Jovita M.Rose-Gordon. (2010). Supervision and Instruction Leadership: A Developmental Approach. (8 thed.) Boston, MA: Allyn and Bacon.

Harris B.M. (1985). Supervisory Behavior in Education. Englewood Cliffs, New York : Prentice - Hall.

Ibarra, H. (2011). Coaching and Mentoring. (3 rded.; K.Ruamdaecha, Trans). Bangkok: Expernet.

Range, B., Duncan, H. & Hvidston, D. (2013). How faculty supervise and mentor pre-service teacher: implications for principal supervision of novice teachers. International Journal of Educational Leadership, 8(2), 43-58.

Safko, L. & Brake, D.K. (2010). Social Media Bible. Hoboken, NJ: Johnwile & Sons.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-29

How to Cite

กุลสอน ส. (2021). การพัฒนารูปแบบการนิเทศผสมผสานเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะความเป็นครูที่ดีของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู: The Development of Social Network Blended Supervision Model Enhancing Good Characteristics of Practice Teachers. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 15(3), 96–110. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/hsjournalnmc/article/view/263351