ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการเวลากับความสำเร็จด้านการเรียน ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยนานาชาติ
The Relationship between Time Management and Academic Achievement of Students at International University
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการรับรู้เกี่ยวกับการจัดการเวลา (2) ศึกษาความสัมพันธ์ของการจัดการเวลาและความสำเร็จด้านการเรียนของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยนานาชาติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาที่กำลังศึกษาในมหาวิทยาลัยนานาชาติจำนวน 315 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ระดับการรับรู้เกี่ยวกับการจัดการเวลาสูงสุดคือ การกำหนดเป้าหมาย (mean=3.75) อยู่ในระดับมาก และต่ำสุดคือ การวิเคราะห์ปัญหา (mean=3.14) อยู่ในระดับมาก
2. การดำเนินการตามแผนที่ได้วางไว้และการประเมินผลการใช้เวลามีความสัมพันธ์กับความสำเร็จด้านการเรียนของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยนานาชาติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะจากงานวิจัยมีเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาที่กำลังศึกษาเพื่อนำไปในการจัดการเวลาช่วยให้ประสบความสำเร็จด้านการเรียนต่อไป
References
กัลยา วาณิชย์บัญชา. (2545). การใช้ SPSS For Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
คณะกรรมการดำเนินงานวิจัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการศึกษาระดับปริญญาตรีของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดนครศรีธรรมราช. สืบค้นจาก http://www.nst.ru.ac.th/index.phpoption=com_content&view=article&id=75:2013-12-04-04-27-06&catid=9&Itemid=179 [2565, 25 มกราคม]
ชนะภัย สวัสดิพงษ์. (2546). ปัจจัยที่มีผลต่อการสำเร็จการศึกษาของนักเรียนวิทยาลัยเทคนิคสันกําแพง. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ฐิติกานต์ จรจวบโชค. (2560). การบริหารเวลาและความเครียดในการทำงานที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา พนักงานขับรถส่งอาหาร ในเขตกรุงเทพมหานคร. สืบค้นจาก http://library.tni.ac.th/thesis/upload/files/IS%20MIM%202017/Thitikan%20Jornjuabchok%20IS%20MIM%202017.pdf [2565, 20 มกราคม]
ธัณฐภรณ์ สิมมา และ ประเสริฐ อินทร์รักษา. (2562). การบริหารเวลากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. 10(1), 472-487.
พรนับพัน อัศวมงคลศิริ นฤมล ศราธพันธุ์ และชีพสุมน รังสยาธร. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการเวลา ความเครียด และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิต นักศึกษามหาวิทยาลัยของรัฐในกรุงเทพมหานคร. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์. 35(3), 122-130.
พัชสุดา กัลยาณวุฒิ. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักศึกษาระดับ ปวช. และระดับ ปวส. ของวิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ. สืบค้นจาก http://www.payaptechno.ac.th/app/images/payap/research/research1/st005. pdf [2565, 22 มกราคม]
พิมพ์ โหล่คำ. (2550). ความสามารถในการบริหารเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สืบค้นจาก http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Hi_Ed/Pim_L.pdf [2565, 23 มกราคม]
ปพนสวรรค์ โพธิพิทักษ์. (2013). ปัจจัยและรูปแบบการบริหารเวลาของรองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. สืบค้นจาก http://www.sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/11086?attempt=2&&locale-attribute=th [2565, 23 มกราคม]
ปวันรัตน์ บุญเกิด. (2562). การบริหารเวลาอย่างเหมาะสมของนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา. สืบค้นจาก https://www.researchgate.net/profile/Psychology-And-Guidance-Silpakorn-2/publication/341998719_ karbriharwelaxyanghemaasmkhxngnisit_ mhawithyalaykestrsastr_withyakhetsriracha/links/5eddc06392851c9c5e8f9dcc/karbriharwelaxyanghemaasmkhxngnisit-mhawithyalaykestrsastr-withyakhetsriracha.pdf [2565, 22 มกราคม]
มณีรัตน์ จรุงเดชากุล. (2554). แบบการเรียนรู้ที่มีผลต่อการสำเร็จการศึกษาของบัณฑิตคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคําแหง. งานวิจัยคณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
อุรปรีย์ เกิดในมงคล ทศวร มณีศรีขำ และพาสนา จุลรัตน์. (2013). การศึกษาลักษณะความหวังทางการศึกษาของนักเรียนวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 39(2), 54-65.
Adams, R. V., & Blair, E. (2019). Impact of time management behaviors on undergraduate engineering students’ performance. Sage Open. 9(1), 1-11.
Alyahyan, E., & Düştegör, D. (2020). Predicting academic success in higher education: literature review and best practices. International Journal of Educational Technology in Higher Education. 17(1), 1-21.
Britton, B. K., & Tesser, A. (1991). Effects of time-management practices on college grades. Journal of Educational Psychology. 83(3), 405-410.
Burt, C. D., & Kemp, S. (1994). Construction of activity duration and time management potential. Applied Cognitive Psychology. 8(2), 155-168.
Cho, E., & Kim, S. (2015). Cronbach’s coefficient alpha: Well-known but poorly understood. Organizational Research Methods. 18(2), 207-230.
Covey, S. R. (1999). Living the 7 habits. New York, NY: Simon & Schuster
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2006). Multivariate data analysis, Pearson Prentice Hall, Upper Saddle River, New Jersey.
Hulin, C., Netemeyer, R., & Cudeck, R. (2001). Can a reliability coefficient be too high? Journal of Consumer Psychology. 10(1/2), 55-58.
Miqdadi, Z. F., ALMomani, F. M., Mohammad T., & Elmousel, M. N. (2014). The Relationship Between Time Management and the Academic Performance of Students from the Petroleum Institute in Abu Dhabi, The UAE. Retrieved from http://www.asee.org/documents/zones/zone1/2014/Student/PDFs/177.pdf. [2022, 20 January]
Rujiwit, M. (2013). Stress Management for Promoting Mental Health. 2nd Edition. Bangkok: Thammasart Publisher.
Songsrirote, N. (2014). Regression Analysis Applications. (4th Edition). Bangkok: Jaransanitwong Publication.
Strongman, K. T., & Burt, C. D. (2000). Taking breaks from work: An exploratory inquiry. The Journal of Psychology. 134(3), 229-242.
Trueman, M., & Hartley, J. (1996). A comparison between the time-management skills and academic performance of mature and traditional-entry university students. Higher education. 32(2), 199-215.
Yamane, T. (1973). Statistics: An introduction analysis. Harper & Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
จรรยาบรรณผู้เขียนบทความ
ผู้เขียนบทความต้องรับรองว่าบทความนี้ไม่เคยตีพิมพ์ในวารสารใดหรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ มาก่อน ต้องไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นมาปรับแต่งเป็นบทความของตน และไม่ได้อยู่ระหว่างการเสนอเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ อีกทั้งยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาและการตรวจแก้ไขบทความต้นฉบับโดยกองบรรณาธิการวารสารวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
บทความทุกเรื่องได้รับการตรวจพิจารณาทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์และมีความเชี่ยวชาญตรงตามสาขาของบทความ ซึ่งผู้เขียนต้องแก้ไขตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิภายในระยะเวลาที่กำหนด หากไม่เป็นไปตามกำหนดกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์และยกเลิกการตีพิมพ์โดยจะแจ้งให้ทราบต่อไป
ข้อความที่ปรากฏในบทความของวารสารนี้เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยนครราชสีมาแต่อย่างใด และกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตรวจประเมินบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารของวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์