การบริหารสถานศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายใต้สถานการณ์โควิด-19 (COVID-19)

Scholl Administration for Quality Assurance under the COVID-19

ผู้แต่ง

  • ดิเรก แสสนธิ์, สุวรรณ เดชน้อย, สนั่น ใจโชติ, ดิเรก บุญคง, สัมฤทธิ์ ทองทับ -

คำสำคัญ:

การบริหารสถานศึกษา, การประกันคุณภาพการศึกษา, โควิด-19

บทคัดย่อ

          บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการบริหารสถานศึกษาในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใต้สถานการณ์โควิด-19 (COVID-19) ซึ่งสถานศึกษาจำเป็นต้องวางแผนการจัดการเรียนการสอนในทุกระดับชั้น โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพตามที่สถานศึกษาได้กำหนดมาตรฐานการศึกษาไว้แล้ว มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย มี 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพเด็ก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ และมาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ มาตรฐานการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน มี 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ และมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA ในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้

References

กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561. (2561, 23 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. (เล่ม 135 ตอนที่ 11 ก หน้า 3).

กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). หลักสูตรพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลง เพื่อรับรองการกระจายอำนาจ สำหรับผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : กองวิจัยทางการศึกษา.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ฉบับลงวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2555). การบริหารองค์การและบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : ทวีพริ้นท์.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2555). แนวคิดทฤษฎีและประเด็นเพื่อการบริหารทางการศึกษา. กรุงเทพฯ :ทิพยวิสุทธิ์.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2556). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากรณีทัศนะต่อการศึกษาศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ :ทิพยวิสุทธิ์.

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2547). หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

Barnard, C.I., (2005). The functions of the executive. Boston:Harvard University Press.

Lunenburg, F.C., & Ornstein, A. C. (2011). Educational Administration Concepts andPractices. New York: Thomson Learning.

Campbell R.F. & Corbally. J.E. & Nystrand. R.O., (2009). Introduction to educationaladministration. 6th ed. Boston: Allyn and Bacon

Deming, W. Edwards (1986). Out of the Crisis. MIT Press.

Duangchurn, P. (2020). Journal of Arts Management, 4(3), 783-795. [In Thai]

Kimbrough & Nunnery. (2008).Education Administration. 3nded New York: Mcmillan.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-30

How to Cite