การบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีผลต่อความผูกพันของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิต ในจังหวัดปทุมธานี

Human resource management that affects employee engagement in the factory manufacturing industry in Pathum Thani Province

ผู้แต่ง

  • สุจิตรา แนใหม่ สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยปทุมธานี

คำสำคัญ:

การจัดการทรัพยากรมนุษย์, ความผูกพันของพนักงาน, โรงงานอุตสาหกรรม

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ลักษณะส่วนบุคคลมีความสัมพันธ์ต่อความผูกพันในองค์กรของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตในจังหวัดปทุมธานี  (2) เพื่อความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่สามารถมีผลต่อความผูกพันในองค์กรของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิต  ในจังหวัดปทุมธานี  เก็บข้อมูลจากโรงงานอุตสาหกรรมการผลิต  ในจังหวัดปทุมธานี ทำการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย  จำนวน  30  แห่ง  ในเขตจังหวัดปทุมธานี  เลือกขนาดตัวอย่างจำนวน  385  สถิติที่ใช้ในการวิจัย  คือ ค่าความถี่ และค่าร้อยละ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน

          ผลการศึกษาพบว่า

          1. อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน และรายได้ต่อเดือนมีความสัมพันธ์ต่อความผูกพันในองค์กรของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตในจังหวัดปทุมธานี

          2. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ส่งผลต่อความผูกพันในองค์กรของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตในจังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  .01 ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์พหุคูณเชิงบวก (R) เท่ากับ .618  ค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์ (R2 = .382 ) เท่ากับ .382  ค่าการพยากรณ์ร้อยละ 38.2

References

เขมจิรา บุตรธิยากลัด และพนิดา นิลอรุณ. (2560). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีผลต่อความ ผูกพันในองค์การของพนักงาน : กรณีศึกษา บริษัท โตโยต้า โถเซ(ประเทศไทย) จำกัด. วิทยานิพนธ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2550). เทคนิคการใช้สถิติเพื0อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 10. นนทบุรี : ไทยเนรมิตกิจอินเตอร์ โปรเกรสซิฟ.

นนท์ธิญา ไกรวารี และสุธินี ฤกษ์ขำ. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างแนวปฏิบัติการบริหารทรัพยากรมนุษย์กับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานสัญญาจ้างรายเดือน บริษัท ท้อปโกลฟ เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำกัด. สารนิพนธ์.มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

นัทธยา ภูแย้มไสย์. (2550). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางในเขต จังหวดขอนแก่น. การศึกษาค้นคว้าอิสระ. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

นิศาชล ภูมิพื้นผล. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ของพนักงาน: กรณีศึกษา บริษัท เดล แมกซ์ แมซิน เนอรี่ จำกัด. การค้นคว้าอิสระ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

ปราชญา กล้าผจัญ และพอตา บุตรสุทธิวงศ์. (2550). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ : ก. พล (1966).

ปิยพร ห้องแซง (2555). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีผลต่อความผูกพันในองค์กรของพนักงาน สาขาธนาคารออมสิน ในเขตกรุงเทพมหานคร. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พัชรกันต์ นิมิตรศดิกุล. (2558). กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. วิทยานิพนธ์. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ภัทรพล กาญจนปาน.(2552). จริยธรรมในองค์กรที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานและผลการดำเนินงานของการประปานครหลวง. สารนิพนธ์บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ.

สิริอำไพ พิพัฒน์พงศ์. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติงานกับความผูกพันต่อองค์กร กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. วิทยานิพนธ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

สุพัตรา ธัญน้อม. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากรมนุษย์กับความผูกพันธ์ต่อ องค์กร : กรณีศึกษาโรงเรียนลาซาล. สารนิพนธ์. มหาวิทยาลัยบูรพา.

อนุรักษ์ วัฒนะถาวรวงศ์. (2561). ความผูกพันต่อองค์การ (Organizational Commitment) (Onlion).http://anuruckwatanathaworneong.blogspot.com/2018/01/organiza tional-commitment.html, 25 กุมภาพันธ์ 2561

Mondy, Noe and Premeaux. (1999). Human Resource Management. 7th ed. New Jersey : Simon and Schuster Company.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-30

How to Cite