ภาวะผู้นำด้านความปลอดภัย: ก้าวใหม่ที่ท้าทายของผู้นำทางพยาบาล

Safety Leadership: Challenging New Steps for Nurse Leaders

ผู้แต่ง

  • สุทธิชารัตน์ เจริญพงศ์, วลัยนารี พรมลา, ชัชวาล วงค์สารี, กิติพงษ์ พินิจพันธ์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิระ

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำ, ภาวะผู้นำด้านความปลอดภัย, ผู้นำทางการพยาบาล

บทคัดย่อ

          บทความวิชาการเรื่องนี้ เป็นบทความเกี่ยวกับคุณลักษณะสำคัญของภาวะผู้นำด้านความปลอดภัยของผู้นำทางการพยาบาล มีวัตถุประสงดังนี้ 1) เพื่อสะท้อนถึงความสำคัญของคุณลักษณะของภาวะผู้นำด้านความปลอดภัยของผู้นำทางการพยาบาล 2) เพื่อสนับสนุนให้ผู้นำทางการพยาบาลทุกระดับประยุกต์คุณลักษณะภาวะผู้นำด้านความปลอดภัยในการบริหารงานมุ่งเกิดผลลัพธ์ด้านความปลอดภัย โดยผู้เขียนได้รวบรวมข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรม งานวิจัยและจากประสบการณ์
          จากแนวคิดภาวะผู้นำด้านความปลอดภัยมีความสำคัญอย่างมากสำหรับผู้นำขององค์กรที่มุ่งเน้นด้านความปลอดภัย จำเป็นต้องอาศัยการผสมผสานแนวคิดภาวะผู้นำสำคัญ ซึ่งมีคุณลักษณะดังนี้ ผู้นำที่มีลักษณะการสอนงานด้านความปลอดภัย ผู้นำที่มีลักษณะการเอาใส่ใจด้านความปลอดภัย และผู้นำที่มีลักษณะการควบคุมด้านความปลอดภัย
          อย่างไรก็ตามภาวะผู้น าทางการพยาบาลจะมีคุณลักษณะที่โดดเด่นในการเป็นผู้น าด้านความปลอดภัยได้นั้น จ าเป็นต้องมีการส่งเสริมพัฒนาคุณลักษณะของตนเองอย่างต่อเนื่อง ในการเป็นผู้น าที่มุ่งให้เกิดความปลอดภัยในองค์กรสุขภาพ อันจะเกิดผลลัพธ์ที่ดีมีความสมดุลในด้านการบริหารจัดการ
งานด้านความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ ด้านผู้ปฏิบัติงานที่มีศักยภาพ สมรรถนะที่ดีและด้านผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้รับบริการ

References

กองการพยาบาล ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2560). คู่มือการจัดเก็บข้อมูลสeคัญด้านการพยาบาล ปี 2560. นนทบุรี: กองการพยาบาล สeนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.

นันทิดา พันธุศาสตร์และ ราตรี ทองยู. (2560). แนวปฏิบัติการพยาบาลตามมาตรฐานความปลอดภัยของผู้ป่วย. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 10(2). 1-13.

ศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19. (2564). สถานการณ์ COVID-19 ในประเทศไทย. (ออนไลน์). ค้นจาก http://www”moicovid.com/. เข้าถึงเมื่อ วันที่ 2 มิถุนายน 2564

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน). (2561). เป้าหมายความปลอดภัยของผู้ป่วยของประเทศไทย พ.ศ. 2561 : Patient Safety Goals: SIMPLE Thailand 2018, นนทบุรี: เฟมัสแอนด์ซัคเซ็สฟูล.

สุทธิชารัตน์ จันติยะ, เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย และ พัชราภรณ์ อารีย์. (2562). ภาวะผู้นeด้านความปลอดภัยและการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในองค์กรสุขภาพ: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 11(2). 1-15.

อรอนงค์ โรจน์วัฒบูรณ์. (2553). การพัฒนาตัวแบบผู้น าเชิงนวัตกรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

Avolio, B. J., Bass, B. M. & Jung, D.I. (1999). Re-examining the components of transformational and transactional leadership using the Multifactor Leadership Questionnaire. Journal of Occupational and Organizational Psychology, 72, 441–462.

Bass, B. M. & Avolio, B. J. (1999). Two decades of research and development in transformational leadership. European Journal of Work and Organizational Psychology, 8(1). 9-32.

Cooper, M. D. (2010a). Safety leadership. Retrieved from www.behavioral-safety.com/behavior-based-safety-solution-center/safety-coaching-and-training/safety–leadership.

Russell, R. F. (2001). The role of values in servant leadership. Leadership & Organization Development Journal, 22(2). 76-84.

Veltri, A., Pagell, M., Behm M., & Das, A. (2007). A Data-based evaluation of the relationship between occupational safety and operating performance. Journal of SH & E Research, 4(1).

World Health Organization. (2018). Patient safety. Retrieved from http://www.who.int/patientsafety/en/. 2019, March 15.

Wu, T-C., Chang , S-H, Shu, C-M, Chen, C-T., & Wang C-P. (2011). Safety leadership and safety performance in petrochemical industries: The mediating role of safety climate. Journal of Loss Prevention in the Process Industries, 24(6). 716-721

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-09-14

How to Cite