การเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหารและหลังอาหาร ต่อระดับ HbA1c ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2

Main Article Content

น้ำเพชร เฉียบแหลม

บทคัดย่อ

ที่มา: ผู้ป่วยเบาหวานส่วนหนึ่งที่ยังไม่สามารถควบคุมระดับนํ้าตาลเฉลี่ยสะสม(Hemoglobin A1C; HbA1c) ได้ตามเป้าหมายแม้ว่าระดับนํ้าตาลขณะอดอาหารจะอยู่ในระดับที่ดีก็ตามส่วนหนึ่งมีผลมาจากความแปรปรวนของระดับนํ้าตาลหลังอาหารที่ส่งผลต่อระดับHbA1c ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้รับการประเมินอย่างเหมาะสมในเวชปฏิบัติวัตถุประสงค์:เปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างระดับนํ้าตาลขณะอดอาหารและหลังอาหาร 2 ชั่วโมงต่อระดับHbA1c ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2


วิธีการศึกษา:ศึกษาความสัมพันธ์เชิงพรรณนาแบบตัดขวางในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จํานวน 84 รายแบ่งตามระดับHbA1c ออกเป็น 3 กลุ่มคือกลุ่มควบคุมโรคได้ดี (ระดับHbA1c <7%) ควบคุมโรคได้ปานกลาง (ระดับHbA1c = 7 ถึง 8.4%) และควบคุมโรคได้ไม่ดี (ระดับHbA1c≥8.5%)


ผลการศึกษา:ระดับนํ้าตาลขณะอดอาหารและหลังอาหาร 2 ชั่วโมงมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญกับระดับHbA1c (r = .687 และ .455, p< .001) ระดับนํ้าตาลขณะอดอาหารมีความสัมพันธ์กับระดับHbA1c มากกว่าในกลุ่มที่ควบคุมโรคได้ดี (r = .588, p = .001) และระดับนํ้าตาลขณะอดอาหารและหลังอาหาร 2 ชั่วโมงมีความสัมพันธ์กับระดับHbA1c ใกล้เคียงกันในกลุ่มที่ควบคุมโรคได้ไม่ดี(r = .672 และ .654, p< .001) แต่ระดับนํ้าตาลขณะอดอาหารและหลังอาหาร 2 ชั่วโมงไม่มีความสัมพันธ์กับระดับHbA1c ในกลุ่มที่ควบคุมโรคได้ปานกลาง


สรุปผลการศึกษา:การตรวจระดับนํ้าตาลหลังอาหาร 2 ชั่วโมงเป็นทางเลือกหนึ่งในการติดตามการควบคุมโรคในผู้ป่วยเบาหวานได้โดยเฉพาะกลุ่มที่ควบคุมโรคได้ไม่ดีหรือพบว่าระดับนํ้าตาลขณะอดอาหารอยู่ในเกณฑ์ดีแต่ระดับHbA1c ยังไม่ได้ตามเป้าหมาย


คําสําคัญ: ความสัมพันธ์, เบาหวานชนิดที่ 2, นํ้าตาลเฉลี่ยสะสม, นํ้าตาลในเลือดขณะอดอาหาร, นํ้าตาลในเลือดหลังอาหาร 2 ชั่วโมง

Article Details

How to Cite
1.
บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

1. Cho NH, Shaw JE, Karuranga S, Huanget Y, Rocha Fernandesal JD da, Ohlrogge AW, et al. IDF Diabetes atlas: Global estimates of diabetes prevalence for 2017 and projections for 2045. Diabetes Res Clin Pract.2018;138:271-81.
2. World health organization. Noncommunicable Diseases Country Profiles 2014, WHO Document Production Services, Geneva, Switzerland.
3. ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์และคณะ.แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2560.พิมพ์ครั้งที่3:ปทุมธานี.ร่มเย็นมีเดีย;2560.หน้า25-33.
4. กรมควบคุมโรค.สถานการณ์การดำเนินงานด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ (NCDs),2561:1-28
5. คลังข้อมูลสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข.อัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวาน2562[Internet].[เข้าถึงเมื่อ 2562ก.ย. 25]. เข้าถึงได้จาก https://hdcservice.moph.go.th/hdc/main/index_pk.php
6. คลังข้อมูลสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข.อัตราการป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานต่อประชากร2562 [Internet]. [เข้าถึงเมื่อ 2562ก.ย.28].เข้าถึงได้จาก https://hdcservice.moph.go.th/hdc/main/index_pk.php
7. American diabetes association. Postprandial blood glucose.Diabetes Care 2001;24(4):775-8.
8. Standl E, Schnell O, Ceriello A.American diabetes association. Postprandial hyperglycemia and glycemic variability: should we care?.Diabetes Care 2001;34(2):S120-7.
9. International diabetes federation.Guideline for management of postmeal glucose in diabetes. Diabetes Res Clin Practpractice 2011:1-37.
10. สมาคมอายุรศาสตร์ผู้ป่วยนอก. กลยุทธ์การบริบาลผู้ป่วยนอก 2562. พิมพ์ครั้งที่ 1:กรุงเทพฯ.เทพเพ็ญวานิสย์;2562.หน้า61-87.
11. International diabetes federation. Guideline for management of postmeal glucose in diabetes. Diabetes Res Clin Pract 2014;103:256-68.
12. Ceriello A. Postprandrial hyperglycemia and diabetes complications: is it time to treat?. Diabetes 2005;54:1-7.
13. Avignon A, Radauceanu A, Monnier L. Nonfasting plasma glucose is a better marker of diabetic control than fasting plasma glucose in type 2 diabetes. Diabetes Care 1997;20:1822-6.
14. Monnier L, Lapinski H, Colette. Contributions of fasting and postprandial plasma plucose Increments to the overall diurnal hyperglycemia of type 2 diabetic patients. Diabetes care 2003;26:881-5.
15. Ketema EB, Kibret KT.Correlation of fasting and postprandial plasma glucose with HbA1c in assessing glycemic control; systematic review and meta-analysis, Archives of public health 2015;73(43):1-9.
16. ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์และคณะ.แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2560.พิมพ์ครั้งที่3:ปทุมธานี.ร่มเย็นมีเดีย;2560.หน้า25-33.
17. American diabetes association. Classification and diagnosis of diabetes: Standards of medical care in diabetes 2019.Diabetes Care 2019;42(1):S13–S28.
18. World health organization. Use of glycated haemoglobin (HbA1c) in the diagnosis of diabetes mellitus. World health organization 2011:3-11.
19. ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์และคณะ.แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2560. พิมพ์ครั้งที่3:ปทุมธานี.ร่มเย็นมีเดีย;2560.หน้า101-16.
20. MedThai.การตรวจน้ำตาลในเลือด[Internet].2018 [เข้าถึงเมื่อ 2019 ต.ค.11] เข้าถึงได้จาก: https://medthai.com/การตรวจน้ำตาลในเลือด/
21. MedThai.การตรวจน้ำตาลสะสมในเลือด[Internet].2018 [เข้าถึงเมื่อ 2019 ต.ค.11] เข้าถึงได้จาก: https://medthai.com/ตรวจน้ำตาลสะสมในเลือด/
22. American diabetes association. Glycemic targets: standards of medical care in diabetes 2019.Diabetes care 2019;42(1):S61–S70.
23. Tayek CJ, Cherukuri L, Hamal S, Tayek JA.Importance of fasting blood glucose goals in the management of type 2 diabetes mellitus:a review of the literature and a critical appraisal.J Diabetes Metab Disord Control 2018;5(4):113–7.
24. Leahy JL, Aleppo G, Fonseca VA, Garg SK, Hirsch IB, McCall AL, et al. Optimizing postprandial glucose management in adults with insulin-requiring diabetes. JES 2019;3:1942-57.
25. ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์และคณะ.แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2560.พิมพ์ครั้งที่3:ปทุมธานี.ร่มเย็นมีเดีย;2560.หน้า93-7.
26. Cefalu WT. Self-Monitoring of Blood Glucose in Noninsulin-Using Type 2 Diabetic Patients .Diabetes Care 2013;36:176-8.
27. Shrestha L, Jha B, Yadav B, Sharma S. Correlation between fasting blood glucose, postprandial blood glucose and glycated hemoglobin in non-insulin treated type 2 diabetic subjects. Sunsari technical college journal 2012;1:18-21.
28. Kikuchi K, Nezu U, Shirakawa J, Sato K, Togashi Y, Kikuchi T, et al. Correlations of fasting and postprandial blood glucose increments to the overall diurnal hyperglycemic status in type 2 diabetic patients: variations with levels of HbA1c. Endocr J. 2010;57:259-66.
29. Swetha NK. Comparison of fasting blood glucose & post prandial blood glucose with HbA1c in assessing the glycemic control. IJHBR. 2014;2:134-9.
30. Ketsuwan T, Pichayapaiboon S. Correlation between HbA1C and four hours after lunch and before dinner blood sugar levels in patients with type 2 diabetes mellitus treated with oral antidiabetic drugs. ThaiJO2016;8:261-70.
31. Wang J, Yan R, Wen J, Kong X, Li H, Zhou P, et.al. Association of lower body mass index with increased glycemic variability in patients with newly diagnosed type 2 diabetes: A cross-sectional study in China. Oncotarget2017;8(42):73133–43.
32. Yoo S, Chin SO, Lee SA, Koh G.Factors associated with glycemic variability in patients with type 2 diabetes: focus on oral hypoglycemic agents and cardiovascular risk factors. Endocrinol Metab2015;30(3):352-60.
33. Tanaka C, Saisho Y, Tanaka K, Kou K, Tanaka M, Meguro S, et.al.Factors associated with glycemic variability in Japanese patients with diabetes. Diabetology International2014;5:36–42.
34. Hulley SB, Commings SR, Browner WS, Grady D, Newman TB.Designing clinical research: an epidemiologic approach. Philadelphia, PA: Lippincott Williams & Wilkins2013;4:75-79.
35. Tocharoenvanich P, Ampai P. The accuracy of home glucose monitor: Accu-Check Advantage. Med J 2007;25(1):49-60.