แนวทางส่งผลงานวิชาการตีพิมพ์ในวารสาร
2019-03-29
ดูรายละเอียดแนวทางการส่งบทความ การพิจารณา และวิธีการส่งบทความผ่านระบบ online
Journal of Primary Care and Family Medicine (PCFM)
วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว
วารสารเพื่อรวบรวมความรู้ทางวิชาการ และงานวิจัยต่าง ๆ รวมถึงเป็นสื่อกลางในการสื่อสารระหว่างเครือข่าย นำไปสู่การพัฒนาทั้งในด้านคุณภาพการบริการและวิชาการ รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างคุณค่าและเอกลักษณ์ของบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัวต่อบุคลากรสาธารณสุข
และเผยแพร่ผลงานวิชาการและงานวิจัยทางด้านเวชศาสตร์ครอบครัวและการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่ายและองค์กรที่ปฏิบัติงานทางด้านเวชศาสตร์ครอบครัวและการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ กระตุ้นให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้และงานวิจัยงานวิชาการทางด้านเวชศาสตร์ครอบครัว และระบบริการปฐมภูมิ
2019-03-29
ดูรายละเอียดแนวทางการส่งบทความ การพิจารณา และวิธีการส่งบทความผ่านระบบ online
ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 (2024): ตุลาคม - ธันวาคม 2567
บทบรรณาธิการ
จากประวัติศาสตร์ สู่ อนาคตแพทย์เวชศาสตร์รุ่นใหม่
บทความปริทัศน์
การจัดฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเวชศาสตร์ครอบครัวให้สอดคล้องกับระบบสุขภาพและชุมชน: บูรณาการโครงการชุมชนและข้อเสนอเพื่อพัฒนาการฝึกอบรม
มุมมองต่อบทบาทการทำงานของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ของผู้มีส่วนร่วมในระบบสุขภาพปฐมภูมิ
นิพนธ์ต้นฉบับ
ผลการควบคุมระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมโรคได้ดีที่รับยาร้านยาคุณภาพเทียบกับการรับยาที่หน่วยบริการปฐมภูมิวัดหนองแวง
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความปวดลดยากในผู้ป่วยระยะท้ายช่วง 48 ชั่วโมงแรกของการรับปรึกษาประคับประคอง
โครงการสร้างเสริมสุขภาพทางการได้ยินและพฤติกรรมการฟังอย่างปลอดภัย ในเด็กประถมจังหวัดเชียงใหม่ (การศึกษานำร่อง)
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะเหนื่อยล้าของผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุกระดูกข้อสะโพกหัก
ผลของการใช้แอสไพรินเพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดแบบปฐมภูมิ ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่โรงพยาบาลบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร
ความชุกและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีอาการข้อเข่าเสื่อมที่มารับบริการที่หน่วยปฐมภูมิสามเหลี่ยม จังหวัดขอนแก่น
ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและการทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยสูงอายุหลังผ่าตัดกระดูกข้อสะโพกหักโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี
ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะความรู้สึกเป็นภาระในผู้ดูแลเด็กสมาธิสั้นในโรงพยาบาลสงขลา
การประเมินผลการแยกโรคคอหอยอักเสบและทอนซิลอักเสบเฉียบพลันโดยใช้เครื่องมือทำนายโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ Group A Streptococci ณ โรงพยาบาลบ้านบึง จังหวัดชลบุรี
ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการประยุกต์หลักการการจัดการตนเอง (Self management) ในการลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 5 ตำบลชัยนาท อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท
เผยแพร่แล้ว: 2024-12-26
ISSN 2651-0553