เมืองอัจฉริยะ: ความท้าทายขององค์กรปกครองส่วนถิ่น ในยุคพลิกผันทางเทคโนโลยี

ผู้แต่ง

  • ฉัตรเกษม ดาศรี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • อภิชาติ แสงอัมพร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • กิตติศักดิ์ ร่วมพัฒนา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

DOI:

https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2023.65

คำสำคัญ:

เมืองอัจฉริยะ, รัฐบาลดิจิทัล, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

บทคัดย่อ

         แนวโน้มการกระจายอำนาจที่เกิดขึ้นทั่วโลกได้สะท้อนให้เห็นถึง “ทางรอด” ของประเทศในยุคสมัยแห่งความพลิกผันทางเทคโนโลยี ความท้าทายที่สำคัญนี้ทำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จะต้องประยุกต์ใช้ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด บทความนี้มีจุดมุ่งหมายในการนำเสนอมุมมองปัจจุบันที่มีต่อการกระจายอำนาจ และแนวความคิดเมืองอัจฉริยะในมุมมองของ อปท. รวมไปถึงการนำเสนอความท้าทายของ อปท.ในการเปลี่ยนผ่านไปสู่ท้องถิ่นดิจิทัลในยุคพลิกผันทางเทคโนโลยี

         เมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City เป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารงานภาครัฐในระดับเมืองหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด และนับว่าเป็นความท้าทายอย่างมากเนื่องจากมีจำนวน อปท. จำนวน 5,300 แห่ง (57.52%)           เป็น อปท.ขนาดเล็กและมีศักยภาพไม่สูงมากนัก ทำให้ยังไม่มีความพร้อมและไม่มีความก้าวหน้าในการขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะมากเท่าที่ควร

         อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีความพร้อมหรือไม่ ก็ไม่อาจปฏิเสธการยอมรับการเปลี่ยนผ่านนี้ได้ จำเป็นต้องดำเนินการพัฒนาระบบบริหารงานกระบวนการปฏิบัติงานภายในองค์การมีประสิทธิผลเพิ่มขึ้น รวมไปถึงการให้บริการสาธารณะที่สร้างความพึงพอใจให้แก่ประชาชนและเป็นฐานในการพัฒนาประเทศไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป

Downloads

Download data is not yet available.

References

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2563). สรุปข้อมูล อปท.ทั่วประเทศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.dla.go.th/work/abt/index.jsp. สืบค้น 12 มกราคม 2566.

กฤษฎา ประชุมศรี. (2565). การประเมินการตอบสนองของการประยุกต์ใช้เครื่องมือดิจิทัลในการรับเรื่องร้องทุกข์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. 11(6) : R363-R373.

ไททัศน์ มาลา. (2561). การจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ (New Public Governance: NPG): แนวคิดและการประยุกต์ใช้ในการจัดการปกครองท้องถิ่น. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์. 8(1) : 179-194.

ธีรภัทร์ พรายพร, นรากรณ์ ค่ำสว่าง, พิษณุ กมลเสถียร, พีรพล อนุวัตินาวี่ และนันทพันธ์ คดคง. (2566). Smart city กับการพัฒนาท้องถิ่น. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. 12(2) : A81-A94.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์, นิยม รัฐอมฤต, สกนธ์ วรัญญูวัฒนา, ดวงมณี เลาวกุล, ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์,อัชกรณ์ วงศ์ปรีดี และวสันต์ เหลืองประภัสร์. (2552). รายงานผลการศึกษาความก้าวหน้าของการกระจายอำนาจในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นันทะ บุตรน้อย, กาญจนา คุมา และสุธีรา ทิพย์วิวัฒน์พจนา. (2563). ผลกระทบของการปรับเปลี่ยนสู่การ เป็นองค์กรดิจิทัลต่อการพัฒนาการบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารการบริหารท้องถิ่น. 13(4) : 347-362.

นิรินธร มีทรัพย์นิคม, อรวรรณ นักปราชญ์, ภูวิน บุณยะเวชชีวิน และณัฐธนนท์ ศุขถุงทอง. (2562). การศึกษาเปรียบเทียบขั้นต้นว่าด้วย การพัฒนาเมืองอัจฉริยะในญี่ปุ่นและไทย. Thai Journal of East Asian Studies. 23(2) : 328-351.

ภาภรณ์ เรืองวิชา, ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ และสุริยานนท์ พลสิม. (2563). การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ: บทเรียนจากต่างแดนสู่ข้อเสนอแนะต่อประเทศไทย. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น. 6(4) : 165-180.

ลิขิต ธีรเวคิน. (2544). วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สถาบันพระปกเกล้า. (2563). รายงานสถานการณ์การกระจายอำนาจ: บทสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.

สถาพร เริงธรรม. (2560). นโยบายสาธารณะของประชาชน (People Public Policy). ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สมิตา เต็มเพิ่มพูน, อัชกรณ์ วงศ์ปรีดี และดนุวศิน เจริญ. (2563). ปัจจัยความสำเร็จที่ส่งผลต่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะของสาธารณรัฐประชาชนจีน: กรณีศึกษานครเซี่ยงไฮ้. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 14(3) : 165-179.

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล. (2563). ดีป้าร่วมมือ สถ.ขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองน่าอยู่อัจฉริยะพร้อมเปิดโอกาสให้ประชาชน-ท้องถิ่นมีส่วนร่วม หวังผลักดันให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.depa.or.th/th/article-view/20200702_01#. สืบค้น 20 มกราคม 2566.

เสกสรร โกสีย์เดชาพันธ์. (2551). กระบวนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: ศึกษาการจัดสรรรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อัครวินท์ ศาสนพิทักษ์ และสมศักดิ์ อมรสิริพงศ์. (2564). การสังเคราะหบทบาทเมืองอัจฉริยะที่มีผลต่อการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม: การสังเคราะหอภิมาน. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์. 12(1) : 7-28.

Clausen, M-L. (2020). Decentralization as a strategy of regime maintenance: The case of Yemen. Public Admin Dev. 40 : 119–128.

OECD. (2020). Smart cities and inclusive growth. [Online]. Available : https://www.oecd.org/cfe/cities/OECD_Policy_Paper_Smart_Cities_and_Inclusive_Growth.pdf. Retrieved August 8, 2023.

Oxford Learner's Dictionaries. (2023). Decentralization. [Online]. Available : https://www.oxfordlearnersdictionaries.com/definition/english/Decentralization. Retrieved August 8, 2023.

Runya X., Qigui S. and Wei S. (2015). The Third Wave of Public Administration: The New Public Governance. Canadian Social Science. 11(7) : 11-21.

Translate Thai Reference

Bootnoi, N., Thipwiwatpotjana, S., and Khuma, K. (2020). The Impact of Digital Transformation on Local Administrative Organizations’ Public Service Development . Local Administration Journal. 13(4) : 347–362. [In Thai]

Department of Local Administration. (2020). Summary: Local Government Organizations Nationwide. [Online]. Available : http://www.dla.go.th/work/abt/index.jsp. Retrieved August 8, 2023. [In Thai]

Dhiravekin, L. (2011). Evolution of Thai Politics and Government. Ed.8. Bangkok : Thammasat Printing house. [In Thai]

Digital Economy Promotion Agency. (2020). DEPA joins the Department of Local Administration to drive the development of smart cities with opportunities for citizens and local people to participate hopes to drive concrete development. [ Online]. Available : https://www.depa.or.th/th/article-view/20200702_01#. Retrieved January 20, 2023. [In Thai]

King Prajadhipok’s Institute. (2020). Report on the Situation of Decentralization in the Year 2019: A Survey of Smart City Development by Local Government Organizations. Bangkok : King Prajadhipok’s Institute. [In Thai]

Kosidachabhan, S. (2008). Process of decentralization to local government organization : study on the allocation of income from government to local government organization in Thailand. Bangkok : Thammasat University. [In Thai]

Mala, T. (2018). New Public Governance (NPG): Concept and Application for Local Governance. Valaya Alongkorn Review (Humanities and Social Science). 8(1) : 179-194. [In Thai]

Mektrairat, N., Rathamarit, N., Waranyuwattana, S., Laovakul, D., Chardchawarn, S., Wongpreedee, A. and Luangprapat, W. (2009). Report on the Progress of Power Decentralization in Thailand. Bangkok : Thammasat Printing house. [In Thai]

Mesupnikom, N., Nugprachaya, O., Bunyavejchewin, P. and Sukthungthon, N. (2019). A Preliminary Comparative Study of Smart Cities Development in Japan and Thailand. Journal of East Asian Studies. 23(2) : 328-351. [In Thai]

Phaiporn, T., Khamsawang, N., Kamonsathian, P., Anuwatnawee, P. and Kodkong, N. (2023). SMART CITY AND LOCAL DEVELOPMENT. Journal of MCU Social Science Review. 12(2) : A81-A94. [In Thai]

Prachumrasee, K. (2022). The Response Evaluation of Digital Tool Application in Complain Receiving Process of Local Administrative Organizations: A Case Study Khon Kaen Municipality. Journal of MCU Social Science Review. 11(6) : R363-R373. [In Thai]

Roengtam, S. (2017). People Public Policy. : khon kaen : kku Printing House. [In Thai]

Ruangwicha, P., Wongthanavasu, S., and Pholsim, S. (2020). Smart City Development: Foreign Experiences and Recommendations for Thailand. Journal of Legal Entity Management and Local Innovation. 6(4) : 165-180. [In Thai]

Sasanapitak, A. and Amornsiriphong, S. (2021). The Synthesis of Smart City Roles Affecting to Reduce Social Inequality: The Meta – Synthesis. Political Science and Public Administration Journal. 12(1) : 7-28. [In Thai]

Temphoemphoon, S., Wongpreedee, A., and Charoen, D. (2020). Drivers Influencing the Development of Smart City in China: Case Study of Shanghai City. Journal of Graduate Studies Valaya Alongkorn Rajabhat University. 14(3) : 165-179 [In Thai]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

24-12-2023

How to Cite

ดาศรี ฉ. ., แสงอัมพร อ., & ร่วมพัฒนา ก. (2023). เมืองอัจฉริยะ: ความท้าทายขององค์กรปกครองส่วนถิ่น ในยุคพลิกผันทางเทคโนโลยี. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 7(3), 343–358. https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2023.65