การนำเสนอรูปแบบสภาพพื้นที่การดำเนินงานของพื้นที่ทำงานร่วมกัน (Co-Working Space) ของการผลิตนักศึกษาครูในยุคดิจิทัลเพื่อตอบสนองคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

ผู้แต่ง

  • บุญโต นาดี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • ขจรศักดิ์ สงวนสัตย์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

DOI:

https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2023.51

คำสำคัญ:

พื้นที่การทำงานร่วมกัน, สภาพแวดล้อมการเรียนรู้, การผลิตนักศึกษาครู, คุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21

บทคัดย่อ

         การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพพื้นที่การดำเนินงานปัจจุบันขอพื้นที่ทำงานร่วมกัน(Co- working space) ของการผลิตนักศึกษาครูในยุคดิจิทัลเพื่อตอบสนองคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ และเพื่อนำเสนอรูปแบบพื้นที่ทำงานร่วมกัน (Co-working space) ของการผลิตนักศึกษาครูในยุคดิจิทัลเพื่อตอบสนองคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ โดยใช้วิธีการวิจัยแบบสำรวจ (Survey) เก็บข้อมูลจากลุ่มตัวอย่างนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ จำนวน 353 คนมีวิธีการได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จของทาโร ยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูลโดย ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย สภาพพื้นที่การดำเนินงานปัจจุบันขอพื้นที่ทำงานร่วมกัน (Co- working space) ของการผลิตนักศึกษาครูในยุคดิจิทัลเพื่อตอบสนองคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ พบว่า ได้รูปแบบพื้นที่ทำงานร่วมกัน (Co-working space) ของการผลิตนักศึกษาครูในยุคดิจิทัลเพื่อตอบสนองคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ กล่าวคือ การจัดพื้นที่สำหรับกลุ่มและเอื้อต่อการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม พื้นที่สำหรับทำงานแบบกลุ่ม เฟอร์นิเจอร์ที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ มากที่สุด

Downloads

Download data is not yet available.

References

ปราณี อัศวภูษิตกุล. (2561). พื้นที่การทำงานร่วมกันของห้องสมุด. วารสารห้องสมุด. 62(1) : 1-15.

พิชญาภา ธัมมิกะกุล. (2565). แนวทางการปรับปรุงโรงอาหารคุณภาพ สะอาด ปลอดภัย กรณีศึกษา โรงอาหารเทิดกสิกร มหาวิทยาลัยแม่โจ้. วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 21(3) : 113-127.

วีรพล พืชธัญญากิจ. (2562). แนวทางการพัฒนา Coworking Space บริเวณสถาบันการศึกษา กรณีศึกษา บริเวณสยามสแควร์และสามย่าน. สาระศาสตร์. 2(2562) : 176-188.

โสภิดา สัมปัตติกร และชีวัน ทองสอดแสง. (2564). การจัดการระบบนิเวศดิจิทัลของพื้นที่ทำงานร่วมกัน ภายใต้สถานการณ์โควิด—19. วารสารวิจัยวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. 5(2) : 103-116.

พรรัตน์ พงษ์ประเสริฐ. (2564). ตัวชี้วัดของความพึงพอใจในการใช้บริการ Co-working space ของนักศึกษามหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร. วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 3(2) : 47-63.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

07-12-2023

How to Cite

นาดี บ., & สงวนสัตย์ ข. (2023). การนำเสนอรูปแบบสภาพพื้นที่การดำเนินงานของพื้นที่ทำงานร่วมกัน (Co-Working Space) ของการผลิตนักศึกษาครูในยุคดิจิทัลเพื่อตอบสนองคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 7(3), 105–116. https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2023.51