ดุลยพินิจการพิจารณาคดีวันทองในวรรณคดีขุนช้างขุนแผน

ผู้แต่ง

  • เชาวลิต สมพงษ์เจริญ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
  • ยุพยงค์ วิงวร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง

DOI:

https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2023.20

คำสำคัญ:

วันทอง, ดุลยพินิจ, การพิจารณาคดี

บทคัดย่อ

          บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการพิจารณาคดีของวันทอง 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการลงโทษวันทองกับโทษในพระธรรมศาสตร์ พระไอยการอาชญาหลวง พระไอยการกระบดศึก พระไอยการลักษณะผัวเมีย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้หลักการไม่มีความผิดโดยไม่มีโทษโดยไม่มีกฎหมายเป็นกรอบแนวคิดงานวิจัย มีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1 ชนิด คือ การวิจัยเชิงเอกสาร โดยใช้เอกสารชั้นต้นอันได้แก่กฎหมายข้างต้น และเอกสารสารชั้นรอง อาทิ งานวิจัย บทความวิจัย บทความความวิชาการที่เกี่ยวข้อง โดยผู้เขียนจะนำเสนอ 1) บทนำ 2) วันทอง : ภาพลักษณ์ของหญิงสองใจในวรรณคดี 3) โทษประหารในขุนช้างขุนแผน 4) โทษตามพระไอยการลักษณะผัวเมีย 5) พระธรรมศาสตร์: เครื่องมือในการควบคุมการตัดสินคดีของพระมหากษัตริย์ 6) บทวิเคราะห์เรื่องดุลยพินิจการพิจารณาคดีวันทองในวรรณคดีขุนช้างขุนแผน และ 7) บทสรุป ข้อค้นพบจากบทความนี้ พบว่า การตัดสินลงโทษประหารชีวิตของวันทองไม่สอดคล้องกับข้อกล่าวหาซึ่งไม่เป็นไปตามกรอบดุลยพินิจในการตัดสินคดีในพระธรรมศาสตร์ มีการนำบทลงโทษตามกฎหมายอื่นมาใช้ จึงก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่การพิจารณาคดีของวันทอง ข้อค้นพบนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการวิเคราะห์การตั้งข้อกล่าวหา และการลงโทษตามวรรณคดีเรื่องเดียวกัน อันจะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาประวัติศาสตร์กฎหมายไทยในเชิงวิพากษ์ต่อไป

Downloads

Download data is not yet available.

References

กฤษฎา บุณยสมิต. (2547). กฎหมายตราสามดวง : การพิจารณาใหม่. ใน วินัย พงศ์ศรีเพียร (บก.). ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ลำดับที่ 2 กฎหมายตราสามดวง : แว่นส่องสังคมไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

กิตติศักดิ์ ปรกติ. (2539). กฎหมายไทย: มุมมองด้านวัฒนธรรม (ตอนที่ 1). ดุลพาห : 43(2). 140-160.

กุณฑสูติ อรุณสุดา. (2564). แนววินิจฉัยของศาลฎีกาเกี่ยวกับการสอบสวนที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย. วารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์. 14(2) : 190-214.

เกศราพร มากจันทร. (2552). โมรา กากี วันทอง: ตัวละครเอกฝ่ายหญิงผู้ตกเป็นทาสชะตากรรม. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 1(1) : 19-40.

คริส เบเคอร์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2551). ทำไมต้องฆ่าวันทอง? วิเคราะห์ “นางวันทองสองใจ” จริงหรือแล้วผิดข้อหาอะไร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.silpa-mag.com/history/article_22380. สืบค้น 11 สิงหาคม 2564.

ลักษณะผัวเมีย. (2468). ม.ป.พ.

จิราพร โชติเธียระวงศ์. (2544). สาส์นสมเด็จ: ทรรศนะเรื่อง "ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย.วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 1(2) : 47-67.

ชยธร วิชาโคตร. (2553). ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับความผิดฐานฉ้อโกง. วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 3(1) : 138-149.

ชาญณรงค์ บุญหนุน. (2549). พระธรรมสาสตร. ใน วินัย พงศ์ศรีเพียร และวีรวรรณ งามสันติกุล, (บก.). นิติปรัชญาไทย : ประกาศพระราชปรารภ หลักอินทภาษ พระธรรมสาสตร และ On the Laws of Mu’ung Thai of Siam (65-157). กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

เชาวลิต สมพงษ์เจริญ. (2557). ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย. ราชบุรี : ผู้แต่ง.

ธนโรจน์ หล่อธนไพศาล. (2564). ปัญหาการตีความหลักนิติธรรมในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. Journal of Roi Kaensarn Academi. 6(7) : 88-98.

ดนัย มู่สา. (2537-2538, ตุลาคม-มกราคม). นิติรัฐในกระแสโลกาภิวัตน์. วารสารสุทธิปริทัศน์. 9(26) : 117-119.

ดิเรก ควรสมาคม. (2558). นิติศาสตร์ไทย: บทวิเคราะห์จากรากฐานในคัมภีร์มานวธรรมศาสตร์ และคัมภีร์พระธรรมศาสตร์. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ. 25(2) : 1-16.

ดิเรก ควรสมาคม. (2564). ปรัชญาหลักกฎหมายไทยตามคำสอนในพุทธศาสนา. วารสารนิติ รัฐกิจ และสังคมศาสตร์. 5(1) : 285-306.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (2473). ตำนานกฎหมายเมืองไทย. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร.

นลินภัสร์ พิทักษ์อโนทัย. (2557). รูปแบบการเขียนในกฎหมายล้านนาโบราณ. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 2(2) : 115-139.

ปริญญา เพ็ชรน้อย, กวินทิพย์ บัวแย้ม และเชาวลิต สมพงษ์เจริญ. (2563). พัฒนาการของกฎหมายหมิ่นพระมหากษัตริย์จากอาชญาหลวงสู่ประมวลกฎหมายอาญา. วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา. 12(2) : 52-65.

ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2560). โทษทัณฑ์ในขุนช้างขุนแผน. วารสารอักษรศาสตร์. 39(2) : 76-103.

ปิยฉัตร บุนนาค, สิริวรรณ นันทจันทูล, และสุรีย์รัตน์ บำรุงสุข. (2561). การสูญศัพท์ การเพิ่มศัพท์ และการเปลี่ยนแปลงทางความหมายของศัพท์ที่เป็นโทษทางอาญาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 13(3) : 436-445.

พนิดา ตาละคำ และอริสา ศุภากรเสถียรชัย. (2563). รายงานการวิจัยเรื่องสภาพบังคับทางอาญาในพระไอยการลักษณะผัวเมียสำหรับชายชู้. ราชบุรี : ผู้แต่ง.

พนิดา ตาละคำ, อริสา ศุภากรเสถียรชัย และเชาวลิต สมพงษ์เจริญ. (2564). สภาพบังคับทางอาญาในพระไอยการลักษณะผัวเมียสำหรับชายชู้. วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา. 13(2) : 27-40.

พระใบฎีกาทวีศักดิ์ ชินวํโส (กล้าคง). (2563). วิเคราะห์คุณค่าทางพุทธจริยธรรมที่ปรากฏในความเชื่อเรื่องเปรต ที่มีผลต่อสังคมไทยปัจจุบัน. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 7(2) : 16-34.

พระสุธีวีรบัณฑิต (โชว์ ทสฺสนีโย) และคณะ. (2561). รัฐกับศาสนา : ศีลธรรม อำนาจ และอิสรภาพ ความขัดกันภายใต้ความเป็นอื่น ความรุนแรงจากรัฐสู่ศาสนา. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. 7(2) : 273-292.

ณัฐพล ประชุมญาติ. (2548). หลักอินทภาษในกฎหมายตราสามดวงและสภาพบังคับของกฎหมายตราสามดวงในปัจจุบัน. วารสารจุลนิติ. 2(5) : 58-66.

มานพ ถาวรวัฒน์สกุล. (2542-2543). การกำหนดอายุกฎหมายอยุธยาในกฎหมายตราสามดวง: บทวิเคราะห์เบื้องต้น. วารสารอักษรศาสตร์. 22(2) : 171-211.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2550ก). กฎหมายตราสามดวง ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม 2. กรุงเทพฯ,: ผู้แต่ง.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2550ข). กฎหมายตราสามดวง ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม 1. กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง.

แลงการ์, ร. (2526). ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิชย์.

วรรณนะ หนูหมื่น. (2555). นัยการล่วงละเมิดทางเพศในวรรณคดีไทยโบราณ : กรณีสีดาถูกคุกคามทางเพศและวันทองถูกข่มขืน. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ. 13(2) : 65-75.

ศศิกานต์ คงศักดิ์. (2544-2545). หลักอินทภาษ. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. 21-22(3) : 114-156.

ศิริพร ดาบเพชร. (2551). การสร้างความมั่นคงของสถาบันพระมหาพระมหากษัตริย์และบ้านเมือง : ศึกษาจากพระอัยการกบฏศึกในกฎหมายตราสามดวง. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 11 : 48–63.

ศิลปวัฒนธรรม ฉบับมีนาคม 2546. (2546). ใครว่า “ผู้หญิงเป็นควาย ผู้ชายเป็นคน” ค้นความเป็นใหญ่ของ “ผู้หญิง” ยุคโบราณ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.silpa-mag.com/culture/article_18955. สืบค้น 11 สิงหาคม 2564.

เสภาเรื่องขุนช้าง ขุนแผน เล่ม 2. (2544). กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร.

เสภาเรื่อง ขุนช้าง-ขุนแผน ฉบับหอสมุดแห่งชาติ. (2510). พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : ศิลปบรรณาคาร.

เสมอ บุญมา. (2547). ภาษาบาลีสันสกฤตในกฎหมายตราสามดวง. ใน เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการกฎหมายตราสามดวง : แว่นส่องสังคมไทย ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ :ราชบัณฑิตยสถาน.

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (ม.ป.ป.). 200 ปี กฎหมายตราสามดวง. กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง.

อภิชญา แก้วอุทัย. (2563, กรกฎาคม-ธันวาคม). ภาพแทนผู้หญิงไทยที่สื่อผ่านกลวิธีทางภาษาในวาทกรรมกฎหมายตราสามดวงบทพระไอยการลักษณผัวเมีย. วารสารอักษรศาสตร์. 42(2) : 115-140.

อิสระ ชูศรี. (2564). สตรีในทัศนะของพระพันวษา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.the101.world/khunchang-khunphaen/. สืบค้น 14 สิงหาคม 2564.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

06-04-2023

How to Cite

สมพงษ์เจริญ เ., & วิงวร ย. (2023). ดุลยพินิจการพิจารณาคดีวันทองในวรรณคดีขุนช้างขุนแผน. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 7(1), 303–316. https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2023.20