การศึกษาปัจจัยการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ส่งผลต่อพฤติกรรม การสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ของเกษตรกรในจังหวัดสุรินทร์

ผู้แต่ง

  • วิจิตรา โพธิสาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • สุรัตน์ สุขมั่น คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • พิมลพรรณ หนูพันธ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • สิริยาภรณ์ เจือจันทร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • นวัฒกร โพธิสาร คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์

คำสำคัญ:

การส่งเสริมคุณภาพชีวิต, การสั่งซื้อสินค้าออนไลน์, เกษตรกร

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับปัจจัยส่งเสริมคุณภาพชีวิตเกษตรกร โดยภาครัฐและเอกชน และระดับพฤติกรรมการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ของเกษตรกรในจังหวัดสุรินทร์ และเพื่อศึกษาระดับปัจจัยการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ส่งผลต่อการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ของเกษตรกรในจังหวัดสุรินทร์ งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรในจังหวัดสุรินทร์ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามออนไลน์ จำนวน 5 ตอน โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ คือ 0.993 การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอ้างอิง คือ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคุณ ด้วยวิธี Stepwise ผลการศึกษา พบว่า ระดับความคิดเห็นปัจจัยส่งเสริมคุณภาพชีวิตเกษตรกรโดยภาครัฐโดยรวมอยู่ในระดับมาก ในขณะที่ภาคเอกชนโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และระดับพฤติกรรมการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ของเกษตรกรในจังหวัดสุรินทร์โดยรวมอยู่ในระดับมาก นอกจากนี้ผลการศึกษาระดับปัจจัยการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ส่งผลต่อการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ของเกษตรกรในจังหวัดสุรินทร์ พบว่า กลุ่มตัวแปรระดับปัจจัยการส่งเสริมคุณภาพชีวิตทั้งภาครัฐ (GOV) และเอกชน (PRI) ส่งผลต่อพฤติกรรมการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ของเกษตรกรในจังหวัดสุรินทร์ (BEH) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สามารถเขียนสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน คือ BEH = 0.496(GOV) + 0.431(PRI)

References

กัญญ์พัสวี กล่อมธงเจริญ. (2560). คุณภาพชีวิตของเกษตรกรเกษตรอินทรีย์ จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 12(1), 59-90.

กันต์ฤทัย ปลอดกระโทก, วัลยา ร้อยแก้ว, สุทัศน์ เยี่ยงกลาง, วิวรรณ กาญจนวจี และ สุภาวดี สุวิธรรมา. (2563). พฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 5(1), 19-30.

คมสันต์ บุพตา และ ภักดี โพธิ์สิงห์. (2562). นโยบายเกษตรอินทรีย์กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรไทย. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 4(3), 191-206.

จันทิรา แซ่เตียว และ สุรีรัตน์ อินทร์หม้อ. (2560). พฤติกรรมการเลือกใช้แอพพลิเคชั่นบนโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟนสำหรับวัยกลางคน. วารสารรัชต์ภาคย์, 11(23), 43-52.

ชานนท์ ศิริธร. (2559). พฤติกรรมการบริโภคสมาร์ทโฟนของผู้บริโภคเจเนอเรชั่นวาย. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม นิด้า, 3(1), 77-104.

ชุมพร ฉ่ำแสง, อุมาพร เคนศิลา, นัยนา ตั้งใจดี, กิตติพงษ์ คงสมบูรณ์. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของบุคลากรฝ่ายการพยาบาล ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวันครนายก (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ชัยณรงค์ พูลเกษม, สุรชัย กังวล และ อัครพงศ์ อั้นทอง. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความยั่งยืนทางการเกษตรของเกษตรกรชาวไร่อ้อย. วารสารบัณฑิตศึกษา, 17(76), 267-279.

เชาวลิต บุครอง และ นัทธ์หทัย อือนอก. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคร้านค้าปลีกขนาดเล็ก (โชห่วย) ในเขตเทศบาลเมืองศรีราชา จังหวัดชลบุรี. ใน การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย ระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 34. (2171–2178). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ฑิตาพร รุ่งสถาพร และ ปฐมา สตะเวทิน. (2564). พฤติกรรมผู้บริโภคต่อการซื้อสินค้าบนช่องทางออนไลน์ในภาวะวิกฤตโควิค-19 ในเขตกรุงเทพมหานครปริมณฑลและพิษณุโลก. วารสารนิเทศศาสตร์, 39(2), 119-133.

ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน. (2561). การประยุกต์ใช้ SPSS วิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 8). มหาสารคาม: ตักสิลาการพิมพ์.

บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ปณิธี ชมภูศรี, จุฑาทิพย์ เฉลิมผล, รุจ ศิริสัญลักษณ์ และ จุฑามาศ โชติบาง. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่. วารสารแก่นเกษตร, 48(2563) ฉบับพิเศษ 1, 421-428.

ไทยวา. (2563). การพัฒนาเกษตรกร. สืบค้น 3 กันยายน 2564, จาก https://investor-th.thaiwah.com/misc/sd/2020/farmer-devolopments-2020-th.pdf.

ธนชัย ชำนาญคิด. (2557). การจำแนกความแตกต่างระหว่างกลุ่มผู้ที่ซื้อมะนาวไปใช้ในธุรกิจร้านอาหารและกลุ่มผู้ซื้อมะนาวไปใช้ในธุรกิจร้านเครื่องดื่มในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้ปัจจัยด้านพฤติกรรมในการเลือกซื้อมะนาว กรณีศึกษา สวนมะนาวชยาธร. (การค้าคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการประกอบการ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

ปรางทิพย์ ภักดีคีรีไพรวัลย์. (2559). การศึกษาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนบ้านแสนต่อ หมู่ 11 ตำบลผา อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง. (การค้าคว้าอิสระสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

รวิสรา ศรีบรรจง และ นันทวัน เหลี่ยมปรีชา. (2564). พฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคภายใต้วิถีความปกติใหม่ (New Normal) ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ที่มีต่อส่วนประสมการตลาดออนไลน์. ใน โครงการนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ ประจำปี พ.ศ. 2564. (40 – 52). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคในการซื้อสินค้าออนไลน์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต, 16(1), 209-229.

สัมมา คีตสิน. (2553). ผู้บริหารองค์กรภาครัฐ. สืบค้น 15 ธันวาคม 2564, จาก http://www.stabundamrong.go.th/web/book/53/b9_53.pdf.

สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดสุรินทร์. (2564). ภาคเอกชนส่งมอบเครื่องจักรกลการเกษตรมูลค่ากว่า 9 แสนบาท สนับสนุนโคกหนองนากลุ่มเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ เพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต วางแผนส่งมอบต่อเพิ่มกว่าร้อยแห่งทั่วประเทศ. สืบค้น 3 กันยายน 2564, จาก https://surin.prd.go.th/th/content/page/index/id/12500.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2563). จำนวนครัวเรือนเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกร จำแนกรายจังหวัด พ.ศ. 2557 - 2563. สืบค้น 3 มิถุนายน 2564, จาก http://statbbi.nso.go.th/staticreport/Page/sector/TH/report/sector_11_3_TH_.xls.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 25661 – 2580. สืบค้น 3 มิถุนายน 2564, จาก https://drive.google.com/file/d/1XSBMp8OCsauJqECOB-XZLB91-cRrNsEV/view.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2563). แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 03 การเกษตร. สืบค้น 3 มิถุนายน 2564, จาก http://nscr.nesdc.go.th/nesdc_uat/wp-content/uploads/2021/02/NS-03_138-173.pdf.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2563). ผลผลิตสินค้าทางการเกษตรรวมสูงสุด 5 อันดับแรก ปี 2563. สืบค้น 3 มิถุนายน 2564, จาก http://mis-app.oae.go.th/area/ลุ่มแม่น้ำ/แม่น้ำมูล/สุรินทร์.

องอาจ เดชอิทธิรัตน์ และ ประนต นันทิยะกุล. (2558). ตัวแบบการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการพัฒนาการเกษตรตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 5(3), 147-154.

Ardrey, J., Denis, N., Magnin, C., Revellat, J. (2020). What can digital retailers in the agriculture sector do to encourage what could be a €10 billion market?. Retrieved September 5, 2021, from https://www.mckinsey.com/industries/agriculture/our-insights/unlocking-the-online-retail-opportunity-with-european-farmers.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-03-28

How to Cite

โพธิสาร ว., สุขมั่น ส., หนูพันธ์ พ., เจือจันทร์ ส., & โพธิสาร น. . (2022). การศึกษาปัจจัยการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ส่งผลต่อพฤติกรรม การสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ของเกษตรกรในจังหวัดสุรินทร์. Trends of Humanities and Social Sciences Research, 10(1), 239–260. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/Humanties-up/article/view/255510