แนวทางการพัฒนาเพื่อส่งเสริมการกินเจของสังคมไทย

ผู้แต่ง

  • อนุชา ม่วงใหญ่ โรงเรียนนายเรือ จังหวัดสมุทรปราการ 10270
  • กมลลักษณ์ กิตติวงศ์ภักดี โรงเรียนนายเรือ จังหวัดสมุทรปราการ 10270
  • อรญา ลาอำ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ กรุงเทพมหานคร 10600
  • อุษณิษา เตชะตา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ กรุงเทพมหานคร 10600

คำสำคัญ:

การมีส่วนร่วม, การส่งเสริม, การสร้างจิตสำนึก

บทคัดย่อ

แนวทางการพัฒนาเพื่อส่งเสริมการกินเจของสังคมไทยนั้น ควรพัฒนาให้ความรู้ ความเข้าใจ การรับรู้ถึงภาวะสุขภาพและความเสี่ยงต่อสุขภาวะของคนในชุมชนส่งเสริมให้ตระหนักถึงความสำคัญของการกินเจ ตลอดจน แนะนำแนวทางในการกินเจ โดยให้คนในชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมและเข้าร่วมกิจกรรม รวมถึงการประสานงานร่วมกับโรงพยาบาลภายในชุมชนเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมในช่วงเทศกาลดังกล่าว ทั้งนี้แกนนำชุมชนในแต่ละชุมชนควรมีการประสานงาน และเผยแพร่ข่าวสารด้านสุขภาพไปยังชุมชนอื่น เพื่อให้เกิดการพัฒนาด้านสุขภาพจากการกินเจของคนในชุมชนอย่างยั่งยืน สิ่งสำคัญดังกล่าวคือคนในชุมชนควรมีความเข้าใจในการกินเจ ตลอดจนหน้าที่ด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชนต้องพยายามสร้างการรับรู้ เพื่อส่งเสริมการสร้างชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน

References

กุลดา เพ็ชรวรุณ. โมเดลภาพลักษณ์งานเทศกาลกินเจจังหวัดภูเก็ต. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร (2559). [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 30 สิงหาคม 2560]; 36: 115-8. เข้าถึงได้จาก: http://www.journal.su.ac.th/index.php/suj/article/viewFile/607/625

ไทยรัฐออนไลน์. (2560). [อินเทอร์เน็ต]. สืบค้นข้อมูลวันที่ 30 สิงหาคม 2560. ได้จาก: https://www.thairath.co.th/content/742396

เบญจมาศ สุขศรีเพ็ง. รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการส่งเสริมสุขภาพ. (2543). [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 31 สิงหาคม 2560]. เข้าถึงได้จาก: https://www.gotoknow.org/posts/195870

เรือนแก้ว ภัทรานุประวัติ. เทศกาลและพิธีกรรมสำคัญของศาลเจ้าจีนในจังหวัดสมุทรสงคราม Festivals and Rituals of Chinese Shrines in Samutsongkhram Province. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (2552). [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 30 สิงหาคม 2560]; 36: 132-5. เข้าถึงได้จาก http://www.utcc.ac.th/public_content/files/001/29_3-8.pdf

วรรณฤดี ดวงเกิด. โทษของเนื้อสัตว์. (2555). [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 30 สิงหาคม 2560]. เข้าถึงได้จาก https://news.phuketindex.com/opinion/food-and-health-205632.html

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2551). [อินเทอร์เน็ต]. สืบค้นข้อมูลวันที่ 31 สิงหาคม 2560. ได้จาก: http://www1.onab.go.th/index.php?option=com=1453:2009-10-17-04-03-08&catid=96:2009-09-19-10-13-59&Itemid

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2560). [อินเทอร์เน็ต]. สืบค้นข้อมูลวันที่ 30สิงหาคม 2560. ได้จาก: https://www.terrabkk.com/news/92308/%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%88-2558

ASTV ผู้จัดการออนไลน์. (2560). [อินเทอร์เน็ต]. สืบค้นข้อมูลวันที่ 30 สิงหาคม 2560. ได้จาก: http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9570000104579

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-21

How to Cite

ม่วงใหญ่ อ., กิตติวงศ์ภักดี ก., ลาอำ อ., & เตชะตา อ. (2019). แนวทางการพัฒนาเพื่อส่งเสริมการกินเจของสังคมไทย. Trends of Humanities and Social Sciences Research, 6(1), 111–122. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/Humanties-up/article/view/196648