การพัฒนาหลักสูตรอบรมครูพลศึกษาระดับประถมศึกษา โดยใช้แนวคิดแอนดราโกจี เพื่อสร้างเสริมการสอนทักษะการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน

ผู้แต่ง

  • ศุภกร โกมาสถิตย์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • สุธนะ ติงศภัทิย์ ภาควิชาหลักกสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • รัชนี ขวัญบุญจันทร์ ภาควิชาหลักกสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

หลักสูตรอบรมครูพลศึกษา, แอนดราโกจี, ทักษะการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน, การพัฒนาหลักสูตร

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาหลักสูตรอบรมครูพลศึกษาระดับประถมศึกษาโดยใช้แนวคิดแอนดราโกจีเพื่อสร้างเสริมการสอนทักษะการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อตรวจสอบประสิทธิผลของหลักสูตรอบรมครูพลศึกษาระดับประถมศึกษาโดยใช้แนวคิดแอนดราโกจี เพื่อสร้างเสริม
การสอนทักษะการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูพลศึกษาระดับประถมศึกษา
ที่ไม่มีวุฒิทางพลศึกษา จำนวน 30 คน ได้จากการเลือกแบบเจาะจง เก็บข้อมูลทดสอบความรู้ เจตคติ และทักษะการสอนก่อนการทดลองและหลังการทดลอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่การทดสอบค่าที
ผลการวิจัยพบว่า 1) หลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมี 6 องค์ประกอบ คือ (1) หลักการและเหตุผล (2) วัตถุประสงค์ของหลักสูตรอบรม (3) เนื้อหาสาระและระยะเวลาของการฝึกอบรม (4) กิจกรรมการอบรม (5) สื่อและอุปกรณ์ (6) การวัดและประเมินผล โดยหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมีค่าความสอดคล้องของหลักสูตรทุกด้าน เฉลี่ยเท่ากับ 0.92 มีผลการประเมินความเหมาะสมของหลักสูตร ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.54 อยู่ในระดับมีความเหมาะสมมากที่สุด และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.40 ผลการนำหลักสูตรอบรมไปใช้กับกลุ่มทดลอง พบว่าผู้เข้าอบรม
มีความรู้ เจตคติ และทักษะการสอน หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

References

กรมพลศึกษา. (2560). การฝึกทักษะการเคลื่อนไหวในเด็ก. ซันแพคเกจจิ้ง.

เจริญ กระบวนรัตน์. (2550). ตาราง 9 ช่อง กับการพัฒนาสมอง. สินธนาก๊อปปี้เซ็นเตอร์.

ชูชัย สมิทธิไกร. (2558). การฝึกอบรมบุคลากรในองค์การ (พิมพ์ครั้งที่2). โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บรมัตถ์ ท้าวแก่นสาร. (2555). ผลของการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบ

โรงเรียนตามแนวคิดแอนดราโกจีที่มีต่อความสามารถในการอนุรักษ์วัฒนธรรมของเยาวชนไทใหญ่. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต] ครุศาสตร์: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรประเสริฐ เสือสี. (2547). ผลของการจัดกิจกรรมนันทนาการตามทฤษฎีแอนดราโกจี เพื่อเพิ่มความเห็น

คุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค กรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์

ปริญญามหาบัณฑิต]. ครุศาสตร์: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พัฒนา สุขประเสริฐ. (2540). กลยุทธ์ในการฝึกอบรม. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ยุทธ ไกยวรรณ์. (2559). การวิจัยและพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รำไพพรรณ อภิชาตพงศ์ชัย. (2545). การฝึกอบรมในงานส่งเสริมการเกษตรการวางแผนและการจัดการ.

พีอาร์คอมพิวเตอร์.

วรณัน พินิจดี. (2558). 7กระบวนการที่จำเป็นสำหรับนักฝึกอบรมมืออาชีพ. บัดดี้ ครีเอชั่น.

วรศักดิ์ เพียรชอบ. (2548). รวมบทความเกี่ยวกับ ปรัชญา หลักการ วิธีสอน และการวัดเพื่อประเมินผล

ทางพลศึกษา. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อาทิตย์ โพธิ์ศรีทอง, รจนา คลี่คลาย, & ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2559). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครู

เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู ้ทางดนตรี ในศตวรรษที่ 21. วารสารสถาบันวัฒนธรรม

และศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 17(2), 37-48.

อัสรี สะอีดี. (2561). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อสร้างเสริมสมรรถนะของครูพลศึกษาในศตวรรษที่ 21

โดยประยุกต์ใช้การอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ร่วมกับการสอนแบบเสริมศักยภาพ.

[วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. ครุศาสตร์: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Barnett M. L, Hardy L. L, Lubans R. D, Cliff P. D, Okely D. A, Hills P. A, & Morgan J. P. (2013).

Australian children lack the basic movement skills to be active and healthy.

Health Promotion Journal of Australia, 24(2), 82-84. https://doi.org/10.1071/HE12920

Birzer, M.L. (2003), "The theory of andragogy applied to police training", Policing: An International

Journal, 26 (1), 29-42. https://doi.org/10.1108/13639510310460288

Bloom, B.S. (1956). Taxonomy of Educational Objectives, Handbook: The Cognitive Domain.

David McKay, New York.

Gallahue, D. L. (1982). Developmental movement experiences for children. John Wiley & Sons.

Hardy, L. L., Reinten-Reynolds, T., Espinel, P., Zask, A., & Okely, A. D. (2012). Prevalence and

correlates of low fundamental movement skill competency in children. Pediatrics;

originally published online July 23, 2012; e390–e398.

Japan Sport Association. (2564). การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในเด็กด้วยการเล่นตามแนวคิด ACP

(Active Child Program). KOHKEN PRINTING.

Knowles, M. S. (1980). The modern practice of adult education: Pedagogy to Adragogy. Follet Publishing Co.

Morgan, J. P., Barnett, M. L., Cliff, P. D., Okely, D. A., Scott, A. H., Cohen, E. K., Lubans, R. D. (2013).

Fundamental movement skill interventions in youth: A systematic review and

Meta-analysis. PEDIATRICS 132(5), e1361-e1383. DOI: 10.1542/peds.2013-1167

Okely, A. D., Booth, M. L., & Chey, T. (2004). Relationships between body composition and

fundamental movement skills among children and adolescents. Res Q Exerc Sport,

(3), 238-247. https://doi.org/10.1080/02701367.2004.10609157

Wexley, K. N. & Latham, G. P. (2002). Developing and training human resources in

organization (3nd ed.). Upper Saddle River.Prentice-Hall.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

13-11-2023

How to Cite

โกมาสถิตย์ ศ., ติงศภัทิย์ ส. ., & ขวัญบุญจันทร์ ร. (2023). การพัฒนาหลักสูตรอบรมครูพลศึกษาระดับประถมศึกษา โดยใช้แนวคิดแอนดราโกจี เพื่อสร้างเสริมการสอนทักษะการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 17(2), 73–85. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/EDUCLoei/article/view/274955