การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้
คำสำคัญ:
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้, บรรยากาศทางกายภาพ, บรรยากาศทางด้านจิตวิทยาบทคัดย่อ
การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ประกอบด้วย การจัดสภาพแวดล้อมภายนอกและการจัดสภาพแวดล้อมภายใน ซึ่งทั้งสองปัจจัยนี้ต่างส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยการจัดสภาพแวดล้อมภายนอกอาจมีข้อจำกัดเรื่องงบประมาณ ทรัพยากรหรือปัจจัยภายนอกอื่น ๆ แต่การจัดสภาพแวดล้อมภายในที่มุ่งเน้นบรรยากาศทางด้านจิตวิทยาสามารถกระทำได้ในทันทีที่เริ่มต้นจากตัวครูผู้สอนเอง ด้วยการจัดการชั้นเรียนให้เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ การปรับปรุงพัฒนาบุคลิกภาพของครู การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสอน การนำเทคนิคการปกครองชั้นเรียนมาใช้ และการเพิ่มปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ ตลอดจนเอื้ออำนวยให้ครูสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพจนทำให้ผู้เรียนมีความสุขและประสบความสำเร็จในการเรียนรู้
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
กุญชรี ค้าขาย. (2551). การจัดการชั้นเรียนแบบสร้างสรรค์. นนทบุรี: เฟิร์นข้าหลวง พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
จิตรา วสุวานิช. (2531). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ประดินันท์ อุปรมัย. (2523). ระบบการเรียนการสอน. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.
ลักขณา สริวัฒน์. (2557). จิตวิทยาสำหรับครู. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2556). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษา กรณีทัศนะต่อการศึกษาศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ศรีเรือน แก้วกังวาน. (2551). ทฤษฎีจิตวิทยาบุคลิกภาพ (รู้เรา รู้เขา). พิมพ์ครั้งที่ 15.
สายสมร ทองดี. (2548). พฤติกรรมวัยรุ่น. พิมพ์ครั้งที่ 12. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุมน อมรวิวัฒน์. (2530). การสอนโดยสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ. กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรางค์ โค้วตระกูล. (2554). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2537). หลักการสอน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
Brophy, J. (1996). Perspective of Classroom Management: Yesterday: Today and Tomorrow.
Colville-Hall, S. (2004). Responsible Classroom Management: Building a Democratic Learning Community. Retrieved April 30, 2016, from http:// www3.uakron. edu/ education/safeschools/CLASS/class.html
Kounin, J.S. (1970). Discipline and Group Management in Classrooms. New York Holt, Rinehart & Winson.
Mcvey, G.F. (1989). Learning Environment in the International Encyclopedia of Educational Teaching. Oxford: Pergamon Press.
Wallbery, H.J. (1987). Psychological Environment in the International Encyclopedia Teaching and Teacher Education. Oxford: Pergamon Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ถือเป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง กองบรรณาธิการวารสารไม่มีส่วนในความคิดเห็นและความรับผิดชอบใดที่เกี่ยวข้องกับบทความดังกล่าว ทั้งนี้ บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร ฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร